กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แหลมสน


“ โครงการรู้จักตัวเอง รู้จักปรับเปลี่ยนตามพฤติกรรมเสี่ยง ลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงบ้านกาแบง ”

ตำบลแหลมสน อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
1. นายอิศแนน กองบก 2. นายหวาเหตุ เกษม 3. นางร้มมาหละ หลังแดง 4. นางสน เกษม 5. นายลิขิต บาโง้ย

ชื่อโครงการ โครงการรู้จักตัวเอง รู้จักปรับเปลี่ยนตามพฤติกรรมเสี่ยง ลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงบ้านกาแบง

ที่อยู่ ตำบลแหลมสน อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2567-L5314-2-06 เลขที่ข้อตกลง 13/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรู้จักตัวเอง รู้จักปรับเปลี่ยนตามพฤติกรรมเสี่ยง ลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงบ้านกาแบง จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแหลมสน อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แหลมสน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรู้จักตัวเอง รู้จักปรับเปลี่ยนตามพฤติกรรมเสี่ยง ลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงบ้านกาแบง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรู้จักตัวเอง รู้จักปรับเปลี่ยนตามพฤติกรรมเสี่ยง ลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงบ้านกาแบง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแหลมสน อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 2567-L5314-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,490.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แหลมสน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่นโยบายของกระทรวงสาธารณสุข ได้ไห้ความสำคัญกับกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกคนภาคส่วนในสังคมในการพัฒนาประเทศด้านต่างๆโดยเฉพาะด้านการเสริมสร้างสุขภาวะให้คนไทยมีสุขภาพแข็งแรงทั้งกายและใจสามารถดูแลตนเองได้โดยมุ่งเน้นการวิจัยและพัฒนาทุนสังคม และภูมิปัญญาชุมชน ตลอดจนการมีส่วนร่วมของพื้นที่ในระดับท้องถิ่นกระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดเกณฑ์ชี้วัดความสำเร็จของการสร้างสุขภาวะให้คนไทยแข็งแรงส่วนหนึ่งนั้นโดยได้กำหนดตัวชี้วัดของโรคไม่ติดต่อได้แก่โรคความดันโลหิตสูงโรคอัมพฤกษ์อัมพาตโรคเบาหวานโรคหลอดเลือดหัวใจโดยกำหนดให้มีกิจกรรมการคัดกรองค้นหาผู้ป่วยในชุมชน และให้มีการลดละกิจกรรมเสี่ยงอันได้แก่ละเลิกการสูบบุหรี่ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ลดอาหารที่มีรสหวานมันเค็มและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานผักผลไม้เพิ่มขึ้นมีการออกกำลังกายเป็นประจำลดภาวะน้ำหนักเกิน
การดำเนินงานให้ประสบความสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืนนั้นจำเป็นจะต้องอาศัยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคทุกส่วนที่เกี่ยวข้อง และการกำหนดยุทธศาสตร์ที่เหมาะสมของพื้นที่ จากสถานการณ์การคัดกรองความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงในประชากร 35 ปีขึ้นไป ในหมู่บ้านหมู่ 2 บ้านกาแบง ตำบลแหลมสน อำเภอละงู จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2566 จำนวนประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 301 คน ได้รับการคัดกรองความเสี่ยงฯ 288 คน คิดเป็นร้อยละ 95.68 พบว่า มีกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน จำนวน 64 คน คิดเป็นร้อยละ 22.22 กลุ่มสงสัยป่วยจำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 1.04 พบผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ 1 คน และ กลุ่มเสี่ยงสูงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 69 คน คิดเป็นร้อยละ 23.96 กลุ่มสงสัยป่วยจำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 6.94 พบผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงใหม่ 2 คน ดังนั้น ทางอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน บ้านกาแบง จึงเล็งเห็นความสำคัญของการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จึงได้จัดทำโครงการรู้จักตัวเอง รู้จักปรับเปลี่ยนตามพฤติกรรมเสี่ยง ลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงบ้านกาแบง โดยให้เกิดการวิเคราะห์ตัวเอง หาจุดดี จุดด้อย พร้อมปรับเปลี่ยนแก้ไข ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การสร้างความร่วมมือและพัฒนากิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชนเพื่อลดอัตราเพิ่มของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงรายใหม่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  2. เพื่อให้มีบุคคลต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในชุมชน
  3. เพื่อลดอัตราการเกิดผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมกิจกรรมรู้จักตัวเอง รู้จักปรับเปลี่ยนตามพฤติกรรมเสี่ยง ลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ให้กับกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน 1 วัน
  2. ติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยจัดกิจกรรมให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่เข้าร่วมอบรม ร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม แลกเปลี่ยนปัญหา อุปสรรค แรงบันดาลใจที่ทำให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้สำเร็จ เดือนละ 1
  3. สรุปผลกิจกรรมการดำเนินงานโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เกิดผลลัพธ์เปลี่ยนแปลงเป็นกลุ่มปกติ
  2. มีบุคคลต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในชุมชน
  3. อัตราผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ตัวชี้วัด : 1.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ มากกว่าร้อยละ 50
0.00

 

2 เพื่อให้มีบุคคลต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในชุมชน
ตัวชี้วัด : มีบุคคลต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในชุมชน อย่างน้อย 1 คน
0.00

 

3 เพื่อลดอัตราการเกิดผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีอัตราการเกิดผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ น้อยกว่าร้อยละ 5
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (2) เพื่อให้มีบุคคลต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในชุมชน (3) เพื่อลดอัตราการเกิดผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมกิจกรรมรู้จักตัวเอง รู้จักปรับเปลี่ยนตามพฤติกรรมเสี่ยง ลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ให้กับกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง  จำนวน 1 วัน (2) ติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยจัดกิจกรรมให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่เข้าร่วมอบรม ร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม แลกเปลี่ยนปัญหา อุปสรรค แรงบันดาลใจที่ทำให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้สำเร็จ เดือนละ 1 (3) สรุปผลกิจกรรมการดำเนินงานโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรู้จักตัวเอง รู้จักปรับเปลี่ยนตามพฤติกรรมเสี่ยง ลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงบ้านกาแบง จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2567-L5314-2-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( 1. นายอิศแนน กองบก 2. นายหวาเหตุ เกษม 3. นางร้มมาหละ หลังแดง 4. นางสน เกษม 5. นายลิขิต บาโง้ย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด