กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำสินธุ์


“ โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านชำ และอาหารปลอดภัยในชุมชน ปี 2567 ”

ตำบลลำสินธุ์ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายพิเชษฐ์ เขียดนิล

ชื่อโครงการ โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านชำ และอาหารปลอดภัยในชุมชน ปี 2567

ที่อยู่ ตำบลลำสินธุ์ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 03 เลขที่ข้อตกลง L3364-01-03

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 มีนาคม 2567 ถึง 30 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านชำ และอาหารปลอดภัยในชุมชน ปี 2567 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำสินธุ์ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำสินธุ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านชำ และอาหารปลอดภัยในชุมชน ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านชำ และอาหารปลอดภัยในชุมชน ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำสินธุ์ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 มีนาคม 2567 - 30 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำสินธุ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

งานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข เป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการควบคุม กำกับ ดูแลและบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ เช่น อาหาร ยา เครื่องสำอาง ร้านขายของชำในหมู่บ้าน เป็นต้น ซึงในส่วนของผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพเหล่านี้มีผู้เกี่ยวข้องหลายส่วน เช่น ผู้ผลิต ผู้จำหน่าย ตลอดจนผู้บริโภค โดยเฉพาะผู้บริโภคจะเป็นผู้ได้รับผลกระทบโดยตรงจากการใช้ผลิตภัณฑ์เหล่านั้น หากเป็นผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีคุณภาพ ลอกเลียนแบบ เจือปนสารอันตรายลงไป หรือหากบริการสุขภาพนั้นไม่ได้มาตรฐานจะทำให้ผู้บริโภคได้รับผลกระทบต่อสุขภาพจนอาจทำให้เกิดโรคและเสียชีวิตได้ ร้านขายของชำในหมู่บ้าน เป็นร้านที่ผู้บริโภคจับจ่ายใช้สอยและซื้อสินค้ามากที่สุด เนื่องจากเป็นร้านที่อยู่ในหมู่บ้าน สะดวกในการซื้อสินค้า และเป็นร้านที่จำหน่ายสินค้าหลากหลายชนิด เช่น ยา เครื่องสำอาง อาหารสำเร็จรูป เครื่องปรุงรส อาหารแปรรูป บุหรี่และแอลกอฮอล์ เป็นต้น

แต่จากการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคพบว่า การใช้เครื่องอุปโภค บริโภคที่ไม่ได้มาตรฐานจากร้านขายของชำในชุมชน ไม่ว่าจะเป็นผลิตภัณฑ์อาหาร เครื่องสำอางที่ไม่ได้คุณภาพ จำหน่ายให้กับประชาชนในชุมชน และยังจำหน่ายยาบางชนิดที่ไม่สามารถจำหน่ายได้ในร้านขายของชำ ซึ่งผู้ประกอบการส่วนใหญ่ไม่มีความรู้ที่ชัดเจนเกี่ยวกับการเลือกผลิตภัณฑ์อาหาร เครื่องสำอางที่มีคุณภาพ ความรู้เรื่องประเภทของยาแต่ละชนิดที่สามารถจำหน่ายได้ในร้านขายของชำ และจำหน่ายให้กับร้านค้าในชุมชนได้ สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นอันตรายต่อผู้บริโภคทั้งสิ้น ดังนั้น เพื่อเป็นการคุ้มครองผู้บริโภค ตรวจสอบและเฝ้าระวังความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ ตลอดจนเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้นำชุมชนแกนนำ อสม. และผู้ประกอบการร้านขายของชำในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำสินธุ์จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อดำเนินการแก้ปัญหาต่างๆในพื้นที่ตำบลลำสินธุ์ ให้มีความปลอดภัยแก่ประชาชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน
  2. เพื่อพัฒนาผู้ประกอบการ และกลุ่มแกนนำ อสม./แกนนำงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน ให้มีความรู้เกี่ยวกับอาหาร ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงาน
  2. กิจกรรมการตรวจเฝ้าระวังร้านสถานประกอบการในชุมชน
  3. สร้างแกนนำด้านคุ้มครองผู้บริโภค ครั้งที่ 1
  4. พัฒนาองค์ความรู้แก่เจ้าของร้านผู้ประกอบการครั้งที่ 2
  5. ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้บริโภคมีความปลอดภัยด้านอาหาร ด้านจากการใช้ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ ได้อย่างยั่งยืน

  2. ผู้ประกอบการร้านขายของชำ ร้านขายยา ร้านเสริมสวย สามารถเลือกซื้ออาหาร ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ และบริการสุขภาพที่มีคุณภาพมาจำหน่ายให้กับผู้บริโภค

3.ร้านขายของชำ ร้านขายยา ร้านเสริมสวย ในพื้นที่ได้รับการเฝ้าระวัง/ตรวจสอบตามกฎหมาย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน (สารเร่งเนื้อแดงในเนื้อสุกร สารกันราหรือกรดซาลิซิลิค สารฟอกขาว สารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน หรือสารละลายฟอร์มาลดีไฮด์ และยาฆ่าแมลงหรือสารเคมีกำจัดศัตรูพืช)
35.10 15.50

 

2 เพื่อพัฒนาผู้ประกอบการ และกลุ่มแกนนำ อสม./แกนนำงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน ให้มีความรู้เกี่ยวกับอาหาร ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ตัวชี้วัด : 1.ผู้ประกอบการมีความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ที่นำมาจำหน่าย ที่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค และไม่ผิดกฏหมาย 2.กลุ่มแกนนำ อสม. มีความรู้ มีทักษะ สามารถเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร แนะนำและออกตรวจเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์ในร้านชำ ในชุมชนได้อย่างถูกต้อง 3.ประชาชนมีความรู้ สามารถเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัย
80.45 40.25

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน (2) เพื่อพัฒนาผู้ประกอบการ และกลุ่มแกนนำ อสม./แกนนำงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน ให้มีความรู้เกี่ยวกับอาหาร ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน (2) กิจกรรมการตรวจเฝ้าระวังร้านสถานประกอบการในชุมชน (3) สร้างแกนนำด้านคุ้มครองผู้บริโภค ครั้งที่ 1 (4) พัฒนาองค์ความรู้แก่เจ้าของร้านผู้ประกอบการครั้งที่ 2 (5) ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านชำ และอาหารปลอดภัยในชุมชน ปี 2567 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายพิเชษฐ์ เขียดนิล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด