กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำสินธุ์


“ โครงการชุมชนร่วมใจ ป้องกันภัยต้านยาเสพติด ปี 2567 ”

ตำบลลำสินธุ์ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายพิเชษฐ์ เขียดนิล

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนร่วมใจ ป้องกันภัยต้านยาเสพติด ปี 2567

ที่อยู่ ตำบลลำสินธุ์ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 04 เลขที่ข้อตกลง L3364-01-04

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 มีนาคม 2567 ถึง 30 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนร่วมใจ ป้องกันภัยต้านยาเสพติด ปี 2567 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำสินธุ์ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำสินธุ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนร่วมใจ ป้องกันภัยต้านยาเสพติด ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนร่วมใจ ป้องกันภัยต้านยาเสพติด ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำสินธุ์ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 มีนาคม 2567 - 30 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำสินธุ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสังคมไทยกำลังประสบปัญหาวิกฤตกับการแก้ไขปัญหายาเสพติด และปัญหาเด็กท้องก่อนวัยอันควร เป็นผลให้กลุ่มเยาวชน หลงผิดเข้าสู่วงจรของการซื้อขายและเสพยาเสพติดเพิ่มมากขึ้น ซึ่งนำมาของการเที่ยวเตร่ มั่วสุ่มและการมีเพศสัมพันธ์ของเยาวชน และเกิดปัญหาท้องวัยอันควร เป็นการทำลายทรัพยากรบุคคลซึ่งเป็นอนาคตและเป็นพลังในการพัฒนาประเทศให้ด้อยคุณภาพ อันจะส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของชาติ อีกทั้งยังเป็นปัญหาที่สร้างความรู้สึกสะเทือนใจและเจ็บปวดให้กับพ่อแม่ผู้ปกครอง ซึ่งปัญหายาเสพติดได้นำมาซึ่งความรุนแรงในครอบครัวและอาชญากรรมต่างๆ เช่น การลักขโมย ปัญหาการทะเลาะเบาะแว้งในครอบครัว ปัญหาสุขภาพกาย สุขภาพจิตหรืออาจถึงขั้นป่วยเป็นโรคจิตเวชและการก่อปัญหาอาชญากรรมอื่นๆ ตามมาอีกมากมาย ดังที่ปรากฏให้เห็นอยู่ตลอดของสังคมปัจจุบันในวันนี้

ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำสินธุ์ได้ตระหนักร่วมกันถึงปัญหาดังกล่าว และเห็นว่าทุกภาคส่วนของสังคมในระดับตำบลควรมีบทบาทในการแก้ปัญหาร่วมกัน จึงได้จัดทำ “โครงการชุมชนร่วมใจ ป้องกันภัย ต้านยาเสพติด ปี 2567” ขึ้น เพื่อเป็นการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในระดับชุมชน และในระดับตำบล รวมถึงเป็นการตอบสนองต่อนโยบายรัฐบาล ในการนำสังคมไทยไปสู่สังคมที่พึงปรารถนา คือ สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อฝึกอบรมเยาวชนให้มีความรู้ความเข้าใจ มีทัศนคิติที่ดี และตระหนักถึงโทษภัยยาเสพติด
  2. เพื่อลดเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปีในชุมชน ที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด
  3. เพื่อลดเด็กและเยาวชน อายุ 11-12 ปีในชุมชน ที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงาน
  2. จัดอบรมเด็กนักเรียนโรงเรียนวัดเกษตรนิคมและโรงเรียนบ้านโตน
  3. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่เยาวชนในชุมชน
  4. ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 125
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กนักเรียนและเยาวชนในชุมชนตำบลลำสินธุ์ มีความรู้ มีทัศนคติที่ดี และมีความตระหนักถึงปัญหาโทษภัยของยาเสพติด หลีกเลี่ยงและไม่มั่วสุ่มการเสพยา

2.ครอบครัว / ชุมชน /โรงเรียน ให้ความร่วมมือการป้องกัน การระวังเฝ้าดูแล ติดตามพฤติกรรมของเด็กนักเรียนและเยาวชน ได้อย่างต่อเนื่อง

3.ลดปัญหาที่เกิดจากยาเสพติดเป็นต้นเหตุ เช่น ปัญหาครอบครัว ปัญหาสังคม ปัญหาการท้องก่อนวัยอันควร เป็นต้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อฝึกอบรมเยาวชนให้มีความรู้ความเข้าใจ มีทัศนคิติที่ดี และตระหนักถึงโทษภัยยาเสพติด
ตัวชี้วัด : 1.เด็กและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจ มีทัศนคิติที่ดี ไม่มั่วสุ่มยาสเพติด
60.45 20.50

 

2 เพื่อลดเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปีในชุมชน ที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปีในชุมชน ที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด
60.45 30.35

 

3 เพื่อลดเด็กและเยาวชน อายุ 11-12 ปีในชุมชน ที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและเยาวชน อายุ 11-12 ปีในชุมชน ที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด
60.45 30.50

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 125
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 125
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อฝึกอบรมเยาวชนให้มีความรู้ความเข้าใจ มีทัศนคิติที่ดี และตระหนักถึงโทษภัยยาเสพติด (2) เพื่อลดเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปีในชุมชน ที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด (3) เพื่อลดเด็กและเยาวชน อายุ 11-12 ปีในชุมชน ที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน (2) จัดอบรมเด็กนักเรียนโรงเรียนวัดเกษตรนิคมและโรงเรียนบ้านโตน (3) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่เยาวชนในชุมชน (4) ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนร่วมใจ ป้องกันภัยต้านยาเสพติด ปี 2567 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายพิเชษฐ์ เขียดนิล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด