กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการ อย.น้อยคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียน ประจำปีงบประมาณ 2567 โรงเรียนบ้านวังปริง ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านวังปริง
วันที่อนุมัติ 1 กุมภาพันธ์ 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ธันวาคม 2566 - 31 กรกฎาคม 2567
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 6,600.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสมชาย หมาดง๊ะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรงเรียนบ้านวังปริง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของเด็กที่อยู่ในวัยเรียนซึ่งเป็นผู้ที่กระตือรือร้นในการทำกิจกรรมที่สร้างสรรค์และเป็นผู้ที่มีศักยภาพในตัวเอง จึงได้จัดทำโครงการ อย.น้อยคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียน เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อเลือกบริโภคได้อย่างถูกต้องปลอดภัย
ดังนั้นเพื่อให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการช่วยกันตรวจสอบและเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อเลือกบริโภคได้อย่างถูกต้องปลอดภัย ทางโรงเรียนบ้านวังปริงจึงได้จัดอบรมให้แก่นักเรียน เพื่อเพิ่มความรู้และมีทักษะในการปฏิบัติตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพ และเลือกซื้อเลือกบริโภคได้อย่างถูกต้องปลอดภัย ให้แก่นักเรียน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และเลือกซื้อเลือกบริโภคได้อย่างถูกต้องปลอดภัย

ร้อยละ 70 นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และเลือกซื้อเลือกบริโภคได้อย่างถูกต้องปลอดภัย

0.00
2 เพื่อให้นักเรียนสามารถตรวจสอบอาหาร อย่างน้อยในเรื่อง สารบอแรกซ์ และจุลินทรีย์ ปนเปื้อนต่างๆ

ร้อยละ 70 นักเรียนสามารถตรวจสอบอาหาร อย่างน้อยในเรื่อง สารบอแรกซ์  และจุลินทรีย์ ปนเปื้อนต่างๆ

0.00
3 ส่งเสริมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของนักเรียน ในเรื่องการเฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยของอาหารในโรงเรียน

ร้อยละ 75 เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยของอาหารในโรงเรียน

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 6,600.00 0 0.00
1 ก.พ. 67 - 31 ก.ค. 67 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่อง - การเลือกซื้ออาหารได้อย่างปลอดภัย - การเฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยของอาหาร 0 5,100.00 -
1 ก.พ. 67 - 31 ก.ค. 67 2. จัดกิจกรรรมสาธิตปฏิบัติในการตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหารด้วยชุดทดสอบ พิจารณาสังเกตสารปนเปื้อนจากลักษณะทางกายภาพของอาหารได้ 0 1,500.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. นักเรียนมีความรู้ในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อเลือกบริโภค ได้อย่างถูกต้องปลอดภัย
๒. นักเรียนสามารถดำเนินกิจกรรม อย.น้อย ในโรงเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 5 ก.พ. 2567 00:00 น.