กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
รหัสโครงการ 67-L1535-2-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนวัดควนไทร
วันที่อนุมัติ 6 กุมภาพันธ์ 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 9 กุมภาพันธ์ 2567 - 29 มีนาคม 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 15 เมษายน 2567
งบประมาณ 20,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวสุมนา หนูเอียด
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวรัตติยา สีสุข
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปากคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.732,99.607place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานขยะ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 59 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)
40.00
2 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)
50.00
3 ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)
30.00
4 ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
20.00
5 ร้อยละของคนที่มีการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน
30.00
6 ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน
80.00
7 ร้อยละของเวลาในโรงเรียนที่มีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning)
50.00
8 ร้อยละของสำนักงานหรือหน่วยงานราชการ ที่มีกิจกรรมส่งเสริมกิจกรรมทางกาย เช่น การออกกำลังกาย การมีการเคลื่อนไหวระหว่างการทำงาน
70.00
9 ร้อยละของเด็กปฐมวัย 2-4 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับเบา ปานกลาง และมาก สะสมอย่างน้อย 180 นาทีต่อวัน)
70.00
10 ปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน
1.00
11 ร้อยละของครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
70.00
12 จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน
50.00
13 ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) เช่น การใช้ถุงพลาสติกซ้ำ ใช้ขวดน้ำซ้ำ ใช้กระดาษสองหน้า
70.00
14 ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ
90.00
15 ร้อยละของหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการด้านการจัดการขยะ
70.00
16 ร้อยละของครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle) เช่น นำเศษผ้ามาทำถุงผ้า ผ้าเช็ดเท้า
40.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรงเรียนวัดควนไทร ตระหนักและให้ความสำคัญของการดูแลสุขภาพของนักเรียน จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียนขึ้น เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้การดูแลรักษาสุขภาพร่างกายได้ถูกต้อง นักเรียนได้เรียนรู้การป้องกันโรคและภัยอันตรายใกล้ตัวต่างๆที่อาจเกิดขึ้นกับนักเรียนได้ อีกทั้งมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการคัดแยกขยะทั้ง 4 ประเภท (ขยะทั่วไป ขยะรีไซเคิล ขยะเปียก และขยะอันตราย) สามารถคัดแยกขยะและรู้วิธีการจัดการขยะแต่ละประเภทได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ตลอดจนนักเรียนสามารถนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจากโครงการนี้ไปใช้ในชีวิตประจำวันของตนเองได้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น

ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)

40.00 60.00
2 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

50.00 70.00
3 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ

ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

30.00 50.00
4 เพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

20.00 40.00
5 เพื่อเพิ่มการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน

ร้อยละของคนที่มีการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน

30.00 50.00
6 เพื่อเพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

80.00 90.00
7 เพื่อเพิ่มการเรียนการสอนในลักษณะ Active learning และ Active play ในโรงเรียนและศูนย์ฯเด็กเล็ก

ร้อยละของเวลาในโรงเรียนที่มีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning)

50.00 70.00
8 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายในสถานที่ทำงาน

ร้อยละของสำนักงานหรือหน่วยงานราชการ ที่มีกิจกรรมส่งเสริมกิจกรรมทางกาย เช่น การออกกำลังกาย การมีการเคลื่อนไหวระหว่างการทำงาน

70.00 90.00
9 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กปฐมวัย

ร้อยละของเด็กปฐมวัย 2-4 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับเบา ปานกลาง และมาก สะสมอย่างน้อย 180 นาทีต่อวัน)

70.00 90.00
10 เพื่อลดปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน

ปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน

1.00 1.00
11 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ

ร้อยละของครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ

70.00 100.00
12 เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน

จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน

50.00 70.00
13 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse)

ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) เช่น การใช้ถุงพลาสติกซ้ำ ใช้ขวดน้ำซ้ำ ใช้กระดาษสองหน้า

70.00 90.00
14 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ

ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ

90.00 100.00
15 เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการในการจัดการขยะ

ร้อยละของหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการด้านการจัดการขยะ

70.00 90.00
16 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle)

ร้อยละของครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle) เช่น นำเศษผ้ามาทำถุงผ้า ผ้าเช็ดเท้า

40.00 60.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณก.พ. 67มี.ค. 67
1 กิจกรรมที่ ๑ กิจกรรมเต้นแอโรบิคส่งเสริมสุขภาพ(9 ก.พ. 2567-9 ก.พ. 2567) 11,300.00    
2 กิจกรรมที่ 2 การดูแลรักษาสุขภาพในช่องปาก(9 ก.พ. 2567-9 ก.พ. 2567) 3,400.00    
3 กิจกรรมที่ 3 การกำจัดเหาด้วยสมุนไพร(9 ก.พ. 2567-29 มี.ค. 2567) 2,500.00    
4 กิจกรรมที่ ๔ คัดแยกและจัดการขยะภายในโรงเรียน(9 ก.พ. 2567-29 มี.ค. 2567) 2,800.00    
รวม 20,000.00
1 กิจกรรมที่ ๑ กิจกรรมเต้นแอโรบิคส่งเสริมสุขภาพ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 59 11,300.00 0 0.00
9 ก.พ. 67 ค่าไวนิลป้ายโครงการ ขนาด 2.5 x 1.2 เมตร 59 300.00 -
9 ก.พ. 67 - 8 มี.ค. 67 ค่าเครื่องเสียงกลางแจ้ง 0 9,500.00 -
9 ก.พ. 67 - 29 มี.ค. 67 ค่าตอบแทนวิทยากร ชั่วโมงละ ๕00 บาท 3 ชั่วโมง 1 วัน 0 1,500.00 -
2 กิจกรรมที่ 2 การดูแลรักษาสุขภาพในช่องปาก กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 3,400.00 0 0.00
9 ก.พ. 67 - 29 มี.ค. 67 ค่าชุดจำลองฟันพร้อมแปรง ขนาด 10x10x11 ซม. 0 1,300.00 -
9 ก.พ. 67 ค่าที่แขวนแปรงสีฟัน/แก้วน้ำ/ผ้าขนหนู/ถังใส่น้ำดื่ม ห้องละ ๓๐๐ จำนวน ๗ ห้อง 0 2,100.00 -
3 กิจกรรมที่ 3 การกำจัดเหาด้วยสมุนไพร กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 2,500.00 0 0.00
9 ก.พ. 67 - 29 มี.ค. 67 ค่าตอบแทนวิทยากร ชั่วโมงละ ๕00 บาท 2 ชั่วโมง 1 วัน 0 1,000.00 -
9 ก.พ. 67 - 29 มี.ค. 67 ค่าวัสดุอุปกรณ์กำจัดเหาด้วยใบน้อยหน่า 0 1,500.00 -
4 กิจกรรมที่ ๔ คัดแยกและจัดการขยะภายในโรงเรียน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 2,800.00 0 0.00
9 ก.พ. 67 - 29 มี.ค. 67 ค่าถังขยะฝาครอบทรงสูง 60 ลิตร ขนาด 38 x 38 x 83 ซม. ถังละ 700 บาท จำนวน 4 ถัง 0 2,800.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑ ส่งเสริมการเรียนรู้ด้านสุขภาพนักเรียนตามฐานการเรียนรู้ต่างๆ และสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
๒ โรงเรียนสะอาดเรียบร้อย ปลอดภัยสำหรับการทำกิจกรรมต่าง ๆ ของนักเรียน ๓ มีบริการด้านสุขภาพเบื้องต้นแก่นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน ๔ นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง และมีความสามัคคีเป็นหมู่คณะ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 6 ก.พ. 2567 11:14 น.