กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงในวัยทำงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแป-ระใต้ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูลปีงบประมาณ 2567

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ


“ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงในวัยทำงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแป-ระใต้ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูลปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายธีรยุทธ์ บินสอาด

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงในวัยทำงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแป-ระใต้ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูลปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 12/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 31 พฤษภาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงในวัยทำงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแป-ระใต้ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูลปีงบประมาณ 2567 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงในวัยทำงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแป-ระใต้ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูลปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงในวัยทำงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแป-ระใต้ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูลปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 31 พฤษภาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,300.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาด้านทันตสุขภาพเป็นปัญหาที่สำคัญที่พบในประชาชนทุกกลุ่มวัย การมีสุขภาพช่องปากที่ดีเป็นส่วนหนึ่งของการมีสุขภาพร่างกายที่ดี ช่วยเสริมคุณภาพชีวิต เพราะเมื่อมีปัญหาสุขภาพช่องปากย่อมส่งผลต่อระบบอื่น ๆ ของร่างกาย ทั้งยังอาจส่งผลถึงด้านพัฒนาการ การเรียน การทำงาน เนื่องจากฟันและอวัยวะในช่องปากเป็นด่านแรกของระบบย่อยอาหาร และมีความสำคัญสำหรับการติดต่อสื่อสารของผู้คนในสังคมอีกด้วย จากผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติ ครั้งที่ 8 พ.ศ. 2560 พบว่ากลุ่มวัยทำงานมีการสูญเสียฟันโดยเฉลี่ย 3.6 ซี่/คน โดยมีผู้ที่มีฟันผุที่ยังไม่ได้รับการรักษา ร้อยละ 43.3 มีปัญหาสภาวะเหงือกอักเสบและสภาวะปริทันต์ พบเหงือกอักเสบร้อยละ 62.4 และมีร่องลึกปริทันต์ ร้อยละ 25.9 สำหรับกลุ่มวัยทำงาน นอกจากการส่งเสริมให้มีการเข้าถึงบริการด้านทันตกรรมแล้ว การเพิ่มช่องทางในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร และความรู้เพื่อการดูแลอนามัยช่องปากตนเองก็มีความจำเป็น นอกจากนี้ยังจำเป็นต้องมีมาตรการควบคุมป้องกันโรค โดยเฉพาะสนับสนุนให้ใช้อุปกรณ์เสริมทำความสะอาดซอกฟันเพื่อป้องกันโรคปริทันต์และฟันผุบริเวณด้านประชิด จากการตรวจสุขภาพช่องปากกลุ่มวัยทำงาน (อายุ 35-44 ปี) ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแป-ระใต้ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล เมื่อปีงบประมาณ ๒๕๖6 พบว่า กลุ่มวัยทำงานได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก จำนวน 265 คน มีฟันผุ จำนวน 87 คน ร้อยละ 32.8 มีเหงือกอักเสบ จำนวน 102 คน ร้อยละ 38.5 ปริทันต์อักเสบ จำนวน 43 คน ร้อยละ 16.2 แม้ว่าในปัจจุบันจะมีการดำเนินงานส่งเสริมทันตสุขภาพในประชาชนในกลุ่มอายุต่างๆ อาทิ กลุ่มเด็กแรกเกิด วัยเรียน วัยทำงาน และในวัยผู้สูงอายุแล้วนั้น แต่ก็ยังเห็นได้ชัดว่าปัญหาเรื่องสุขภาพช่องปากยังเป็นอีกหนึ่งปัญหาของประชาชนใน ทุกกลุ่มอายุ หากประชาชนมีโรคในช่องปากและไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องและทันท่วงทีก็จะส่งผลให้สูญเสียฟันและเกิดผลกระทบต่อสุขภาพร่างกายในองค์รวมได้ จึงต้องมีการส่งเสริมทันตสุขภาพในกลุ่มวัยต่าง ๆเพื่อไม่ให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคในช่องปาก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแป-ระใต้ ได้ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพช่องปากของกลุ่มวัยทำงาน จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมทันตสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงในวัยทำงาน ปีงบประมาณ ๒๕๖7 โดยมีเป้าหมายที่สำคัญ คือ ส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในวัยทำงานมีความรู้ความเข้าใจ และมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากได้อย่างถูกต้อง เพื่อลดอัตราการเกิดโรคในช่องปากลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ และส่งผลให้มีสุขภาพช่องปากที่ดีในอนาคตต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในวัยทำงาน (อายุ 35-44 ปี) มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากได้อย่างถูกต้อง
  2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในวัยทำงาน (อายุ 35-44 ปี) เกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง
  3. ลดอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคในช่องปากของประชาชนกลุ่มเสี่ยงในวัยทำงาน (อายุ 35-44 ปี)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เสนอโครงการ
  2. ประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
  3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้
  4. ติดตาม ประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในวัยทำงาน (อายุ 35-44 ปี) มีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้อย่างถูกต้อง         2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในวัยทำงาน (อายุ 35-44 ปี) มีความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากตนเอง   3. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในวัยทำงาน (อายุ 35-44 ปี) ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแป-ระใต้  มีอัตราเสี่ยงต่อการเกิด โรคในช่องปากลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในวัยทำงาน (อายุ 35-44 ปี) มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในวัยทำงาน (อายุ 35-44 ปี) มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้อย่างถูกต้อง
0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในวัยทำงาน (อายุ 35-44 ปี) เกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในวัยทำงาน (อายุ 35-44 ปี) เกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง
0.00

 

3 ลดอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคในช่องปากของประชาชนกลุ่มเสี่ยงในวัยทำงาน (อายุ 35-44 ปี)
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในวัยทำงาน (อายุ 35-44 ปี) มีอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุลดลง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในวัยทำงาน (อายุ 35-44 ปี)    มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากได้อย่างถูกต้อง (2) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในวัยทำงาน (อายุ 35-44 ปี) เกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง (3) ลดอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคในช่องปากของประชาชนกลุ่มเสี่ยงในวัยทำงาน (อายุ 35-44 ปี)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เสนอโครงการ (2) ประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (4) ติดตาม ประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงในวัยทำงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแป-ระใต้ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูลปีงบประมาณ 2567 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายธีรยุทธ์ บินสอาด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด