กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการส่งเสริมสุขภาพ เพื่อป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนดในพื้นที่ตำบลท่าเรือประจำปีงบประมาณ 256๗ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแป-ระใต้

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพ เพื่อป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนดในพื้นที่ตำบลท่าเรือประจำปีงบประมาณ 256๗ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแป-ระใต้ ”

ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายธีรยุทธ์ บินสอาด

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพ เพื่อป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนดในพื้นที่ตำบลท่าเรือประจำปีงบประมาณ 256๗ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแป-ระใต้

ที่อยู่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 13/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพ เพื่อป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนดในพื้นที่ตำบลท่าเรือประจำปีงบประมาณ 256๗ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแป-ระใต้ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพ เพื่อป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนดในพื้นที่ตำบลท่าเรือประจำปีงบประมาณ 256๗ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแป-ระใต้



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพ เพื่อป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนดในพื้นที่ตำบลท่าเรือประจำปีงบประมาณ 256๗ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแป-ระใต้ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,975.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การฝากครรภ์เป็นจุดเริ่มต้นแห่งการพัฒนาคุณภาพประชากรเริ่มตั้งแต่อยู่ในครรภ์ เพื่อการตั้งครรภ์และการคลอดเป็นไปอย่างปลอดภัยทั้งมารดาและทารก ลดภาวะแทรกซ้อนและการคลอดก่อนกำหนด การคลอดก่อนกำหนดเป็นสาเหตุสำคัญของการตายและภาวะทุพพลภาพของทารกแรกเกิด ปัญหาการคลอดก่อนกำหนด เกิดจากปัจจัยเสี่ยงทั้งด้านกายภาพ ชีวภาพ สารเคมี สิ่งแวดล้อม และจิตสังคม ซึ่งมีผลทำให้เกิดการคลอดก่อนกำหนด เช่น การปฏิบัติตนของมารดา เรื่องโภชนาการขณะตั้งครรภ์ ความเครียด การใช้ยาและสารเสพติด และการติดตามทารกในครรภ์ ผลกระทบจากการที่มารดาคลอดก่อนกำหนด มารดาต้องพักรักษาตัวเป็นเวลานาน ส่งผลต่อการดำเนินชีวิต เกิดปัญหาต่างๆตามมามากมาย นอกจากนี้บุตรที่คลอดก่อนกำหนด จะมีน้ำหนักตัวน้อย เจ็บป่วยง่าย มารดาต้องดูแลบุตรอย่างใกล้ชิด ส่งผลให้มารดามีความวิตกกังวล สุขภาพร่างกายไม่แข็งแรง จากสถิติการคลอดก่อนกำหนดในจังหวัดสตูล พ.ศ. 256๕ พบว่ามีการคลอดก่อนกำหนด 399 คน คิดเป็นร้อยละ 14.45 และ พ.ศ.256๖ พบว่ามีการคลอดก่อนกำหนด 270 คน คิดเป็นร้อยละ 11.01ผลการดำเนินงานดูแลหญิงตั้งครรภ์ และสถิติทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ของตำบลท่าเรือพ.ศ.256๕ คิดเป็นร้อยละ 5.88 และ พ.ศ.256๖ คิดเป็นร้อยละ 10.17ซึ่งพบว่าปัญหาพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่ไม่ถูกต้องขณะตั้งครรภ์ การดูแลตนเองและทารกในครรภ์อาจไม่เหมาะสม ก่อให้เกิดภาวะเสี่ยงสูงต่อการคลอดก่อนกำหนดได้ บุคคลในครอบครัว รวมถึงภาคีเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านของตำบลท่าเรือ เป็นบุคคลสำคัญที่ช่วยในการดูแล เฝ้าระวังหญิงตั้งครรภ์ ซึ่งจะต้องทบทวนความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลหญิงตั้งครรภ์
เพื่อลดปัญหาและป้องกันการคลอดก่อนกำหนดขณะตั้งครรภ์ ของหญิงตั้งครรภ์ในเขตพื้นที่ตำบลท่าเรือ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแป-ระใต้ตำบลท่าเรือจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนด พร้อมกับมีการเสริมความรู้การดูแลและติดตามหญิงตั้งครรภ์ มุ่งเน้นการส่งเสริมด้านความรู้ และการติดตามขณะตั้งครรภ์ตลอดจนหลังคลอดให้มีความปลอดภัยทั้งมารดาและทารก รวมถึงการส่งเสริมความรู้ให้แก่ภาคีเครือข่าย อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ตำบลท่าเรือ เพื่อการเข้าถึงและรวดเร็วในการพบเจอปัญหา สามารถส่งต่อข้อมูลมายังเจ้าหน้าที่สาธารณสุขได้อย่างรวดเร็ว ลดปัญหาความเสี่ยงต่างๆขณะตั้งครรภ์ตลอดจนหลังคลอดได้อย่างปลอดภัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดปัญหาและป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนดขณะตั้งครรภ์
  2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ตามเกณฑ์และการฝากครรภ์มีคุณภาพ
  3. ร้อยละ 65 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการส่งเสริมเฝ้าระวัง การดูแลและติดตามหญิงตั้งครรภ์ ป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ๓.สำรวจกลุ่มเป้าหมายหญิงตั้งครรภ์ในตำบลท่าเรือ
  2. ๔.ส่งโครงการเพื่ออนุมัติโครงการงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขตำบลท่าเรือ
  3. ๑.เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ
  4. กิจกรรมอบรมให้ความรู้
  5. กิจกรรมอบรมให้ความรู้การดูแล วิธีติดตามหญิงตั้งครรภ์ ให้กลุ่มอสม.ตำบลท่าเรือ
  6. กิจกรรมประชาสัมพันธ์รณรงค์ให้ความรู้
  7. ติดตามหญิงตั้งครรภ์ 8 ครั้งตามเกณฑ์
  8. ประเมินผลการดำเนินงานการจัดโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 15
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 20
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. สามารถลดปัญหาและป้องกันการคลอดก่อนกำหนดขณะตั้งครรภ์ได้
2. หญิงตั้งครรภ์สมารถมาฝากครรภ์ตามเกณฑ์และการฝากครรภ์มีคุณภาพได้ 3. อสม.มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลและติดตามหญิงตั้งครรภ์ เพื่อเฝ้าระวังการคลอดก่อนกำหนด


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดปัญหาและป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนดขณะตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ลดปัญหาและป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนดขณะตั้งครรภ์
0.00

 

2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ตามเกณฑ์และการฝากครรภ์มีคุณภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ตามเกณฑ์และการฝากครรภ์มีคุณภาพ
0.00

 

3 ร้อยละ 65 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการส่งเสริมเฝ้าระวัง การดูแลและติดตามหญิงตั้งครรภ์ ป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนด
ตัวชี้วัด : เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการส่งเสริมเฝ้าระวัง การดูแลและติดตามหญิงตั้งครรภ์ ป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนด
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 35
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 15
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 20
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดปัญหาและป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนดขณะตั้งครรภ์ (2) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ตามเกณฑ์และการฝากครรภ์มีคุณภาพ (3) ร้อยละ 65 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการส่งเสริมเฝ้าระวัง การดูแลและติดตามหญิงตั้งครรภ์ ป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๓.สำรวจกลุ่มเป้าหมายหญิงตั้งครรภ์ในตำบลท่าเรือ (2) ๔.ส่งโครงการเพื่ออนุมัติโครงการงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขตำบลท่าเรือ (3) ๑.เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ (4) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (5) กิจกรรมอบรมให้ความรู้การดูแล วิธีติดตามหญิงตั้งครรภ์ ให้กลุ่มอสม.ตำบลท่าเรือ (6) กิจกรรมประชาสัมพันธ์รณรงค์ให้ความรู้ (7) ติดตามหญิงตั้งครรภ์ 8 ครั้งตามเกณฑ์ (8) ประเมินผลการดำเนินงานการจัดโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพ เพื่อป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนดในพื้นที่ตำบลท่าเรือประจำปีงบประมาณ 256๗ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแป-ระใต้ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายธีรยุทธ์ บินสอาด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด