ส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิคเพื่อสุขภาพ ปี 2567 (ชุมชนโรงพยาบาลกรุงเทพ)
ชื่อโครงการ | ส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิคเพื่อสุขภาพ ปี 2567 (ชุมชนโรงพยาบาลกรุงเทพ) |
รหัสโครงการ | 67-L7258-02-14 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชุมชนโรงพยาบาลกรุงเทพ |
วันที่อนุมัติ | 26 มกราคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มีนาคม 2567 - 31 สิงหาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 31 สิงหาคม 2567 |
งบประมาณ | 22,050.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | ชุมชนโรงพยาบาลกรุงเทพ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.01,100.474place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
เนื่องคนในชุมชนโรงพยาบาลกรุงเทพ มีความสนใจด้านสุขภาพมากขึ้น สุขภาพที่ดีอยู่ในร่างกายที่แข็งแรง มีจิตใจที่สงบ แนวการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมคือดูแลกายและใจการดแลสุขภาพที่เน้นให้ความสำคัญในการส่งเสริม ป้องกันโรค ฟื้นฟู มากกว่าการรักษา ซึ่งจะเห็นได้ว่าการมีสุขภาพดีเชื่อมโยงกับการดูแลสุขภาพ สภาพสังคมในชุมชนเป็น ลักษณะสังคมเมือง เป็นครอบครัวเดียว มีความผูกพันน้อย มีผู้สูงอายุในชุมชนเพิ่มมากขึ้น เด็กก่อนวัยเรียนอยู่กับผู้สงอายุ กลุ่มวัยเรียนมีพฤติกรรมที่สนใจสื่อสังคมมากเกินไป วัยทำงานมุ่งแต่สัมมาอาชีพ จนทำให้คนในสังคมมีเวลาอยู่ด้วยกัน น้อยลง และให้ความสำคัญเรื่องสุขภาพน้อยลงจนลืนลืมคิดไปว่าหากสุขภาพยำแย่อาจจะส่งผลต่ลต่อกิจกรรมการดำรงชีวิต ปัญหาโรคติดต่อไม่เรื้อรังในกลุ่มวัยต่างๆ ปัญหาสุขภาพจิตซึ่งเกิดจากมีพฤติกรรมในการดำรงชีวิตที่ไม่เหมาะสมหากใน พื้นที่มีกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อาจทำให้คนในที่พื้นที่มีสุขภาพแข็งแรง ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และจิต วิญญาณ และสร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัวในอนาคต ชุมชนโรงพยาบาลกรุงเทพ จึงได้จัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพในชุมชน เนื่องจากมีพื้นที่ในการออก กำลังกาย แต่ยังขาดผู้นําในการออกกำลังกาย และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นกิจกรรมต่อเนื่องในซุมชน เพื่อให้คนในชุมชน หันมาสนใจการออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้น และส่งเสริมให้คนในชุมชนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง ให้คนชุมชนมีสุขภาพดี และเป็นการสร้างความสัมพันธ์ในชุมชนเกิดความสามัคคีและเป็นชุมชนสร้างเสริมสุขภาพ
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของ การดูแลสุขภาพด้วยการออกกำลังกาย -ประเมินพฤติกรรมการออกกำลังกาย โดยผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80 มีการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อย 3 วันต่อสัปดาห์ |
||
2 | ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้ง -ประเมินสุขภาพกาย-ใจ โดยผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 มีสุขภาพร่างกายจิตใจแข็งแรงขึ้น |
||
3 | 3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพร่างกาย จิตใจแข็งแรงขึ้น
|
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 0.00 | 2 | 22,050.00 | -22,050.00 | |
1 มี.ค. 67 - 31 ส.ค. 67 | 1. กิจกรรมออกกำลังกาย | 0 | 0.00 | ✔ | 21,600.00 | -21,600.00 | |
1 - 31 มี.ค. 67 | 2. กิจกรรมประชาสัมพันธ์ | 0 | 0.00 | ✔ | 450.00 | -450.00 | |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 2 | 22,050.00 | -22,050.00 |
1.ผู้เข้าร่วมโครงการตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ และมีการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ 2.ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพร่างกาย จิตใจแข็งแรง 3.เกิดการรวมกลุ่มกันออกกำลังกายมากขึ้น
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 6 ก.พ. 2567 13:58 น.