กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด


“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ สืบสานภูมิปัญญาแพทย์แผนไทยด้วยสมุนไพรสู่วิถีชุมชนบ้านคลองขุดเหนือ ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอำภรณ์ หวันยาวา

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ สืบสานภูมิปัญญาแพทย์แผนไทยด้วยสมุนไพรสู่วิถีชุมชนบ้านคลองขุดเหนือ ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L5300-67-2-2 เลขที่ข้อตกลง 34/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ สืบสานภูมิปัญญาแพทย์แผนไทยด้วยสมุนไพรสู่วิถีชุมชนบ้านคลองขุดเหนือ ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ สืบสานภูมิปัญญาแพทย์แผนไทยด้วยสมุนไพรสู่วิถีชุมชนบ้านคลองขุดเหนือ ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ สืบสานภูมิปัญญาแพทย์แผนไทยด้วยสมุนไพรสู่วิถีชุมชนบ้านคลองขุดเหนือ ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ L5300-67-2-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,790.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สมุนไพร หมายถึง “พืชที่ใช้ทำเป็นเครื่องยา” ส่วน ยาสมุนไพร หมายถึง “ยาที่ได้จากส่วนของพืช สัตว์ และแร่ ซึ่งยังมิได้ผสมปรุง หรือ แปรสภาพ” ส่วนการนำมาใช้ อาจดัดแปลงรูปลักษณะของสมุนไพรให้ใช้ได้สะดวกขึ้น เช่น นำมาหั่นให้มีขนาดเล็กลง หรือ นำมาบดเป็นผงเป็นต้น สมุนไพรที่เป็นสัตว์ได้แก่ เขา หนัง กระดูก ดี หรือเป็นสัตว์ทั้งตัวก็มี เช่น ตุ๊กแกไส้เดือน ม้าน้ำ ฯลฯ "พืชสมุนไพร" ตั้งแต่โบราณก็ทราบกันดีว่ามีคุณค่าทางยามากมายซึ่ง เชื่อกันอีกด้วยว่าต้นพืชต่างๆก็เป็นพืชที่มีสารที่เป็นตัวยาด้วยกันทั้งสิ้น (สืบค้นจาก https://sites.google.com /site/biwtyzaza๒๕๕๗/smunphir-hmay-thung-1) ซึ่งนับได้ว่าการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพนั้น เป็นการช่วยลดปัญหาการเกิดผลเสียจากการใช้ยาแผนปัจจุบันอีกด้วย เนื่องจากสารเคมีที่ผสมในยาแผนปัจจุบัน อาจนำมาซึ่งผลเสียต่อสุขภาพในอนาคต โดยนำพืชสมุนไพรมาประยุกต์ในการบรรเทาอาการต่างๆ เช่น แก้อาการวิงเวียนศีรษะ อาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ แก้แมลง สัตว์กัดต่อย เป็นต้น ส่งผลให้ผู้บริโภคได้รับกลิ่นหอมของสมุนไพรชนิดต่างๆ ซึ่งเป็นภูมิปัญญาดั้งเดิม ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์อีกประเภทหนึ่งที่กำลังเป็นที่นิยม และสร้างรายได้ให้กับชุมชนอีกด้วย
จากข้อมูลดังกล่าวข้างต้น กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ ๗ บ้านคลองขุดเหนือ ตำบลคลองขุด อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ได้เล็งเห็นความสำคัญในการลดการใช้ยาแผนปัจจุบันที่เสี่ยงต่อสารเคมีและสนับสนุนการใช้ยาสมุนไพร การใช้ภูมิปัญญาสมุนไพรในการดูแลสุขภาพของประชาชนทุกกลุ่มวัยในชุมชน เพื่อเป็นการส่งเสริมการใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชน และอนุรักษ์ภูมิปัญญาพื้นบ้านนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดอย่างปลอดภัย ดังนั้น จึงได้จัดทำ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการสืบสานภูมิปัญญาแพทย์แผนไทยด้วยสมุนไพรสู่วิถีชุมชน ปีงบประมาณ ๒๕๖7 ขึ้น เพื่อเป็นการสืบสานภูมิปัญญาที่มีอยู่ในท้องถิ่น ให้คงอยู่สืบต่อไปในชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชนให้เกิดประโยชน์สูงสุด
  2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ยาสมุนไพร การทำผลิตภัณฑ์แปรรูปจากสมุนไพรเพิ่มขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการทำผลิตภัณฑ์แปรรูปจากสมุนไพร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลผลิต 1. ประชนชนกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ยาสมุนไพร การทำผลิตภัณฑ์แปรรูปจากสมุนไพร
2. ได้ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากสมุนไพร
ผลลัพธ์ 1. สามารถสืบสานภูมิปัญญา เสริมสร้างรายได้ให้แก่ตนเอง ครอบครัวและชุมชน และเป็นการพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชนให้เกิดประโยชน์สูงสุด 2. ประชาชนนำสมุนไพรที่มีในชุมชนมาใช้มากขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชนให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนปลูกพืชสมุนไพร ในครัวเรือนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 30
20.00 30.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ยาสมุนไพร การทำผลิตภัณฑ์แปรรูปจากสมุนไพรเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนที่ผ่านการอบรม ทราบถึงประโยชน์ ของสุมนไพรและนำมาประยุกต์ใช้ในการทำผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรได้ร้อยละ 100
20.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชนให้เกิดประโยชน์สูงสุด (2) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ยาสมุนไพร การทำผลิตภัณฑ์แปรรูปจากสมุนไพรเพิ่มขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการทำผลิตภัณฑ์แปรรูปจากสมุนไพร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ สืบสานภูมิปัญญาแพทย์แผนไทยด้วยสมุนไพรสู่วิถีชุมชนบ้านคลองขุดเหนือ ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L5300-67-2-2

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอำภรณ์ หวันยาวา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด