กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด


“ โครงการออกกำลังกายสบายชีวี ด้วยวิธีรำกลองยาว (ระยะที่ 2) ”

ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายจรูญ สุวรรคีรี

ชื่อโครงการ โครงการออกกำลังกายสบายชีวี ด้วยวิธีรำกลองยาว (ระยะที่ 2)

ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L5300-67-2-2 เลขที่ข้อตกลง 36/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 31 พฤษภาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการออกกำลังกายสบายชีวี ด้วยวิธีรำกลองยาว (ระยะที่ 2) จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการออกกำลังกายสบายชีวี ด้วยวิธีรำกลองยาว (ระยะที่ 2)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการออกกำลังกายสบายชีวี ด้วยวิธีรำกลองยาว (ระยะที่ 2) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ L5300-67-2-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 31 พฤษภาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,526.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การรำกลองยาวเป็นกิจกรรมทางเลือกหนึ่งที่จะนำไปประยุกต์ใช้ในการออกกำลังกาย อีกทั้งการรำกลองยาวยังสร้างบรรยากาศ สีสัน ความบันเทิงแก่ตนเอง แก่คนรอบข้าง และอีกทั้งยังสร้างความกลมเกลียวในสังคม และชุมชน การรำวงเป็นกิจกรรมที่เหมาะ เพราะสามารถยกแขนก้าวขาออกลีลาท่าทางได้ตามความต้องการ รำวงทำให้สนุกสนาน สามัคคีกลมเกลียว สภาพจิตใจ สุขภาพร่างกายก็ดีขึ้น ในเมื่อสุขภาพคือหัวใจสำคัญที่ สามารถทำให้สมาชิกของชุมชนใช้ชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข หากสมาชิกของชุมชนสุขภาพไม่ดี ไม่มีความสุขในการดำเนินชีวิตในแต่ละวัน การนำภูมิปัญญาและวัฒนธรรมที่มีอยู่แล้วในชุมชนคือวงกลองยาว มาประยุกต์เข้ากับการออกกำลังกาย ที่เข้ามาบูรณาการกับการส่งเสริมสุขภาพได้อย่างลงตัว โครงการนี้จะทำให้ผู้สูงอายุได้แลกเปลี่ยนวิธีการใช้ชีวิต การดูแลตัวเองด้วยการออกกำลังกาย เกิดเป็นกิจกรรมที่เป็นผลพวงต่างๆ ที่ทำให้สมาชิกมีความภาคภูมิใจ และในศักยภาพของตนเอง และทำให้ผู้สูงอายุเกิดความตระหนักว่าการที่จะใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุข ผู้สูงอายุต้องเริ่มดูแลตัวเองโดยเฉพาะในเรื่องของสุขภาพ ซึ่งเป้าหมายสูงสุดคือการทำให้สมาชิกของชุมชนท่าจีนเหนือ สามารถอยู่และใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข ชุมชนท่าจีนเหนือ ตำบลคลองขุดจึงได้จัดทำโครงการออกกำลังกายสบายชีวี ด้วยวิธีรำกลองยาว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
  2. เพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ซ่อมแซม บำรุง กลองยาว(จากงบสนับสนุนปี 2565)
  2. อุปกรณ์เพิ่มเติมสำหรับออกกำลังกายด้วยวิธีรำกลองยาว
  3. อบรมเชิงปฏิบัติการออกกำลังกายโดยการรำกลองยาว

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ 15
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลผลิต ประชาชนกลุ่มวัยทำงาน และกลุ่มผู้สูงอายุ ร้อยละ 80 ของสมาชิกชมรม มีกิจกรรมออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน
ผลลัพธ์ 1.ประชาชนมีสุขภาพร่างกายและจิตใจแข็งแรงจากการรำกลองยาว ทำให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน และความสามัคคีของคนในชุมชน ทำให้มีพื้นที่สร้างสรรค์ทางสังคม ในการพบปะ พูดคุย และทำกิจกรรมร่วมกันของคนในชุมชน 2.ทำให้ประชาชนมีความตระหนักถึงคุณค่าของการรำกลองยาวเพื่อออกกำลังกาย 3.ทำให้กลุ่มเป้าหมายมีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพที่หลากหลาย และสามารถจัดกิจกรรมการออกกำลังกายโดยใช้กลองยาวและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องในการสร้างแรงจูงใจในการออกกำลังกาย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมเชิงปฏิบัติการออกกำลังกายโดยการรำกลองยาว

วันที่ 1 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุม ชี้แจง รับสมัครสมาชิก และตรวจสุขภาพเบื้องต้นของผู้เข้าร่วมโครงการก่อนเข้าร่วมกิจกรรม (วัดความดัน, อัตราการเต้นของหัวใจ,ปัญหาสุขภาพ) 2.อบรมเชิงปฏิบัติการการออกกำลังกายโดยการรำกลองยาว   1. การอบอุ่นร่างกาย (Warm Up)   2. การยืดเหยียดกล้ามเนื้อ   3. การอบอุ่นร่างกายด้วยท่ารำกลองยาว   4. ขั้นตอนการรำกลองยาว การแสดงท่ารำเพื่อการออกกำลังกาย   5. ผ่อนคลายกล้ามเนื้อหลังการรำกลองยาว โดยการลดระดับความหนักของท่ารำให้ช้าลง 3. ออกกำลังกายโดยการรำกลองยาว สัปดาห์ละไม่น้อยกว่า 3 วัน ระยะเวลาในการรำกลองยาว อยู่ระหว่าง 30-60 นาที ต่อเนื่องกันหรือขึ้นอยู่กับอิริยาบถ ระดับความหนักของจังหวะ และท่าทางของการออกกำลังกายจากการรำกลองยาว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

45 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
28.00 80.00

 

2 เพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
30.00 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 45
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ 15
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่ (2) เพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ซ่อมแซม บำรุง กลองยาว(จากงบสนับสนุนปี 2565) (2) อุปกรณ์เพิ่มเติมสำหรับออกกำลังกายด้วยวิธีรำกลองยาว (3) อบรมเชิงปฏิบัติการออกกำลังกายโดยการรำกลองยาว

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการออกกำลังกายสบายชีวี ด้วยวิธีรำกลองยาว (ระยะที่ 2) จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L5300-67-2-2

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายจรูญ สุวรรคีรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด