กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตรัง


“ โครงการการส่งเสริมความครอบคลุมของวัคซีนในเด็ก 0 - 5 ปี ตำบลตรัง อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี ”

ตำบลตรัง อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางแวตีเมาะ กอและ

ชื่อโครงการ โครงการการส่งเสริมความครอบคลุมของวัคซีนในเด็ก 0 - 5 ปี ตำบลตรัง อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

ที่อยู่ ตำบลตรัง อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3002-02-07 เลขที่ข้อตกลง 67-L3002-02-07

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการส่งเสริมความครอบคลุมของวัคซีนในเด็ก 0 - 5 ปี ตำบลตรัง อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตรัง อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการส่งเสริมความครอบคลุมของวัคซีนในเด็ก 0 - 5 ปี ตำบลตรัง อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการส่งเสริมความครอบคลุมของวัคซีนในเด็ก 0 - 5 ปี ตำบลตรัง อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตรัง อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3002-02-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 กุมภาพันธ์ 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนแต่ละชนิดครบตามเกณฑ์ใน เด็กอายุครบ 1 ปี (fully immunized)ตำบลตรัง ปี 2566 ได้รับตามเกณฑ์ร้อยละ 2.7 อายุครบ 2 ปี (fully immunized) ได้รับตามเกณฑ์ร้อยละ 5.41 อายุครบ 3 ปี (fully immunized) ได้รับตามเกณฑ์ร้อยละ 0 อายุครบ 5 ปี (fully immunized)ได้รับตามเกณฑ์ร้อยละ 5.88 จากข้อมูลดังกล่าว พบว่า ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน ของตำบลตรังตำกว่าเกณฑ์ ทำไห้สามราถป้องกันโรคระบาดที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน เช่น โรคหัด โรคคอตีบ เป็นต้น จากข้อมูลสาเหตุของการไม่นำบุตรหลานมารับวัคซีนคือ 1.เด็กจะตามพ่อแม่ไปทำงานนอกพื้นที่กลับมาแค่ช่วงเทศกาล 2.ผู้ปกครองไม่ยินยอมให้ลูกฉีดวัคซีนเพราะยังมีความเชื่อที่ผิดๆทำให้ผู้ปกครองมีทัศนคติที่เข้าใจผิดรวมถึงผู้ปกครองบางคนยังไม่ให้ความสำคัญของการได้รับวัคซีนที่ครบถ้วนดังนั้นบ้านเขาวังหมู่ที่ 3 ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมในด้านพัฒนาการเด็กและการฉีดวัคซีนครบตามเกณฑ์ในเด็กอายุตั้งแต่0- 5ปีจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการรับวัคซีนในเด็กอายุ 0-5 ปี ตำบลตรัง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. คนในชุมชนมีความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการฉีดวัคซีนในเด็ก
  2. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้แกนนำชุมชนทั้ง 4 หมู่บ้าน
  2. อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องทักษะการสื่อสารเรื่องวัคซีนแก่ อสม ทั้ง4 หมู่บ้าน จำนวน 27 คน
  3. ประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้ของประชาชนทั้ง 4 หมู่บ้าน
  4. ประชุมคณะทำงานร่วมกับแกนนำชุมชน
  5. ประกวดหนูน้อยสุขภาพดีฉีดวัคซีนครบและครอบครัวปลอดโรคต้นแบบ
  6. อ่านคุตบะห์วันศุกร์ เรื่องการป้องกันโรคติดต่อในชุมชนจำนวน 6 มัสยิด 2 ครั้ง
  7. อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ผู้ปกครอง และเด็ก 0-5 ปีที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์
  8. อบรมให้ความรู้แกนนำชุมชน ทั้ง 4 หมู่บ้าน
  9. อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องทักษะการสื่อสารเรื่องวัคซีนแก่ อสม ทั้ง4 หมู่บ้าน จำนวน 27 คน
  10. ประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้ของประชาชนทั้ง 4 หมู่บ้าน
  11. ประชุมคณะทำงานร่วมกับแกนนำชุมชนทั้ง 3 หมู่บ้าน จำนวน 20 คน
  12. ประกวดหนูน้อยสุขภาพดีฉีดวัคซีนครบและครอบครัวปลอดโรคต้นแบบ
  13. อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ผู้ปกครอง และเด็ก 0-5 ปีที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์
  14. อ่านคุตบะห์วันศุกร์ เรื่องการป้องกันโรคติดต่อในชุมชนจำนวน 6 มัสยิด 2 ครั้ง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 80
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 27
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

การแก้ไขปัญหาความครอบคลุมของวัคซีนต่ำในเด็ก 0-5 ปี โดยมีการสนับสนุนการดำเนินงานจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตรังอบต.ตรังรวมถึงผู้ปกครอง เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนแก้ไขปัญหาการไม่ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ของเด็ก 0-5 ปีในชุมชนอย่างต่อเนื่อง และเป็นรูปธรรม ทั้งนี้หากแกนนำดำเนินงานตามแผนส่งเสริมความครอบคลุมของวัคซีนที่พัฒนาขึ้นจากการมีส่วนร่วมของชุมชน และการให้ความรู้และสร้างทัศนคติที่ดีในการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปีที่ไม่ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ในชุมชน จะทำให้เกิดความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในเด็กตำบลบานาเพิ่มขึ้น จะมีการนำแผนดังกล่าวไปใช้ในพื้นที่อื่น ๆ ในเขตอำเภอเมืองและอำเภออื่น ๆ ของจังหวัดปัตตานีเพื่อขยายผลต่อไป


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 คนในชุมชนมีความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการฉีดวัคซีนในเด็ก
ตัวชี้วัด : 1 มีสื่อประชำสัมพันธ์ความรู้เรื่อง การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ทุก หมู่บ้าน 2. มีการบรรยายให้ความรู้เรื่องการ สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคผ่านเสียง ตามสายในทุกชุมชน 3. ผู้นำศาสนาอ่านคุตบะห์เรื่องวัคซีน แก่ประชาชนทั้ง 4 ชุมชน
50.00

 

2 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ตัวชี้วัด : 1 ผู้ปกครองเด็ก 0 - 5 ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ อย่างน้อย 40 คน (ร้อยละ 80) มีความรู้และทัศนคติเกี่ยวกับวัคซีนดีขึ้น 2 ผู้ปกครองเด็ก อย่างน้อย 40 คน (ร้อยละ 80) มีทักษะการจัดการอาการข้างเคียงเช่นอาการไข้ อาการปวด หลังได้รับวัคซีน 3 มีครอบครัวปลอดโรคต้นแบบอย่างน้อยหมู่บ้านละ 1 ครอบครัว และหนูน้อยสุขภาพดีฉีดวัคซีนอย่างน้อยหมู่บ้านละ 1 คน 4 มีสมาชิกครอบครัวและเด็ก 0-5 ปีเข้าร่วมกิจกรรมหนูน้อยสุขภาพดีอย่างน้อย 50 คน
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 107
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 80
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 27
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) คนในชุมชนมีความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการฉีดวัคซีนในเด็ก (2) เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แกนนำชุมชนทั้ง 4 หมู่บ้าน (2) อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องทักษะการสื่อสารเรื่องวัคซีนแก่ อสม ทั้ง4 หมู่บ้าน จำนวน 27 คน (3) ประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้ของประชาชนทั้ง 4 หมู่บ้าน (4) ประชุมคณะทำงานร่วมกับแกนนำชุมชน (5) ประกวดหนูน้อยสุขภาพดีฉีดวัคซีนครบและครอบครัวปลอดโรคต้นแบบ (6) อ่านคุตบะห์วันศุกร์ เรื่องการป้องกันโรคติดต่อในชุมชนจำนวน 6 มัสยิด 2 ครั้ง (7) อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ผู้ปกครอง และเด็ก 0-5 ปีที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ (8) อบรมให้ความรู้แกนนำชุมชน ทั้ง 4 หมู่บ้าน (9) อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องทักษะการสื่อสารเรื่องวัคซีนแก่ อสม ทั้ง4 หมู่บ้าน จำนวน 27 คน (10) ประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้ของประชาชนทั้ง 4 หมู่บ้าน (11) ประชุมคณะทำงานร่วมกับแกนนำชุมชนทั้ง 3 หมู่บ้าน จำนวน 20 คน (12) ประกวดหนูน้อยสุขภาพดีฉีดวัคซีนครบและครอบครัวปลอดโรคต้นแบบ (13) อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ผู้ปกครอง และเด็ก 0-5 ปีที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ (14) อ่านคุตบะห์วันศุกร์ เรื่องการป้องกันโรคติดต่อในชุมชนจำนวน 6 มัสยิด 2 ครั้ง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการส่งเสริมความครอบคลุมของวัคซีนในเด็ก 0 - 5 ปี ตำบลตรัง อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3002-02-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางแวตีเมาะ กอและ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด