กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เอราวัณ


“ โครงการสร้างสุขกายใจ ผู้สูงวัย อายุยืน ประจำปีงบประมาณ 2567 ”

องค์การบริหารส่วน ตำบลเอราวัณ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายสามะ สะอุดี

ชื่อโครงการ โครงการสร้างสุขกายใจ ผู้สูงวัย อายุยืน ประจำปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ องค์การบริหารส่วน ตำบลเอราวัณ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2523-03-02 เลขที่ข้อตกลง 1/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างสุขกายใจ ผู้สูงวัย อายุยืน ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน องค์การบริหารส่วน ตำบลเอราวัณ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เอราวัณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างสุขกายใจ ผู้สูงวัย อายุยืน ประจำปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างสุขกายใจ ผู้สูงวัย อายุยืน ประจำปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ องค์การบริหารส่วน ตำบลเอราวัณ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2523-03-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 กุมภาพันธ์ 2567 - 28 กุมภาพันธ์ 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เอราวัณ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสร้างสุขภาพ ถือเป็นกลยุทธ์ทางสุขภาพที่กำลังได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าจะช่วยกระตุ้นและส่งเสริมให้บุคคลเกิดพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะส่งผลโดยตรงต่อสุขภาพของบุคคลช่วยลดอัตราป่วยด้วยโรคต่างๆโดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคอันเกี่ยวเนื่องกับวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปเช่นโรคหัวใจและหลอดเลือดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคเครียดและโรคมะเร็ง สาเหตุที่พบอุบัติการณ์ของโรคเพิ่มขึ้นเรื่อยๆเนื่องจาก กระบวนการสร้างสุขภาพ ไม่เพียงแต่จะเป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการให้การศึกษาด้านสุขภาพเท่านั้น แต่ยังเกี่ยวข้องกับการสนับสนุนด้านสิ่งแวดล้อมที่เอื้อให้เกิดผลในทางปฏิบัติและสภาพการณ์ของการดำรงชีวิตที่สอดคล้องกับสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรมบรรทัดฐานทางสังคมสิ่งแวดล้อมทางเศรษฐกิจซึ่งก็คือวิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งจะก่อให้เกิดภาวะสุขภาพที่สมบูรณ์ของบุคคลและชุมชนนั่นเอง แม้ระบบสุขภาพของคนไทยที่ผ่านมาจะได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนส่งผลให้สุขภาพของประชาชนในภาพรวมดีขึ้นและระบบบริการสุขภาพจะมีความก้าวหน้ามากขึ้นแต่ยังมุ่งที่การจัดบริการเพื่อการรักษาพยาบาลเป็นหลักคำว่าสุขภาพในความหมายของคนทั่วไปกลายเป็นเรื่องของการรอให้เจ็บป่วยก่อนแล้วค่อยรักษาทำให้ต้องเสียค่าใช้จ่ายมากแต่ให้ผลตอบแทนด้านสุขภาพต่ำกว่าที่ควรจะเป็น นอกจากนี้แนวโน้มการเจ็บป่วยและปัญหาสุขภาพของประชาชนก็มีความซับซ้อนมากขึ้นดังนั้นการแก้ไขด้วยวิธีคิด วิธีการและองค์ความรู้เดิมจึงไม่เพียงพอ ถึงเวลาที่ทุกภาคส่วนของสังคมต้องมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบด้วยการสร้างสุขภาพและด้วยภูมิปัญญาของชุมชนทั้งสังคม โดยการเน้นให้ประชาชนมีพฤติกรรมการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องบริโภคอาหารที่สุกสะอาดปลอดภัยไม่ติดยาเสพติดส่งเสริมให้ประชาชนในแต่ละชุมชนรวมกลุ่มกันจัดกิจกรรมด้านสุขภาพในรูปของชมรมสร้างสุขภาพโดยมีวัตถุประสงค์ให้ชมรมสร้างสุขภาพเป็นศูนย์กลางและเป็นกลไกในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านสุขภาพสู่ประชาชนส่งเสริมให้ประชาชนมีการออกกำลังกายและมีโภชนาการที่ดีเป็นการลดปัจจัยเสี่ยงง่ายๆด้วยต้นทุนต่ำป้องกันโรคต่างๆอาทิโรคเบาหวาน โรคหัวใจขาดเลือด โรคความดันโลหิตสูง ฯลฯ ไม่ให้เกิดขึ้นก่อนวัยอันควร ทำให้ประชาชนมีสมรรถภาพดี สามารถทำงานได้เต็มตามศักยภาพ ขณะเดียวกันก็เป็นการลดค่าใช้จ่ายเพื่อสุขภาพลงไปในตัวด้วย นอกจากนี้ การออกกำลังกายยังลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคอื่นๆ เช่นมะเร็งลำไส้ใหญ่ โรคของกล้ามเนื้อกระดูกและข้อต่อต่างๆ ป้องกันโรคกระดูกพรุนในวัยกลางคน และโรคกระดูกตะโพกหักในวัยสูงอายุ มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดี ดังนั้นหากพิจารณาให้ลึกซึ้งจะเห็นได้ว่า การออกกำลังกายและมีภาวะโภชนาการที่ดี จึงเป็นมาตรการทางอ้อมที่ใช้ในการเพิ่มรายได้ประชาชาติได้ด้วย
หลักสำคัญในการดูแลสุขภาพเพื่อก้าวสู่การมีสุขภาพดี คือการให้ความรู้ทางด้านโภชนาการอาหาร การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ การดูแลสุขภาพจิตและลดพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ จะช่วยป้องกันโรคที่กล่าวมาแล้วทั้งหมดได้ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคให้ถูกชนิด ปริมาณ และถูกเวลา ควรเลือกกินอาหารให้ครบ ๕ หมู่ให้หลากหลายและพอเพียงงดอาหารหวาน มัน เค็ม ดุแลน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ที่พอเหมาะ ควบคู่ไปกับการออกกำลังกายสม่ำเสมอ ตลอดจนการตรวจสุขภาพประจำปี โดยเฉพาะในรายผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ด้อยโอกาส เพื่อลดความเสี่ยงจากโรคต่าง ๆ และสามารถรักษาอาการป่วยได้ทันถ้วนที จากนโยบายสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ช่วยคนไทยห่างไกลโรคมีเป้าหมายที่สำคัญ คือการสร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชน และลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาว การสร้างเสริมจิตใจให้เข็มแข็งเป็นอีกแนวทางหนึ่งที่ควรทำควบคู่กับการดูแลสุขภาพกาย จิตควบคุมกายจิตใจที่เข็มแข็งจะทำให้ร่างกายมีพลัง พร้อมที่จะรับและเผชิญกับสิ่งที่ต่างทั้งร้ายและดีที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน การทำให้จิตใจเข็มเข็งนั้น จำเป็นเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเพิ่มธรรมมะ หลักธรรมทางศาสนา และโดยเฉพาะผู้สูงวัย การนำหลักคำสอนทางศาสนามาเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ จึงเป็นวิธีการที่ควรส่งเสริมอย่างยิ่ง การมีกำลังใจ กำลังกายที่ดี จะทำให้ผู้สูงอายุมีอายุยืน และพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้อย่างมีสติต่อไป ส่วนสวัสดิการสังคม องค์การบริหารส่วนตำบลเอราวัณ ร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลเอราวัณ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตอแลจึงได้จัดทำโครงการสร้างสุข กายใจ ผู้สูงวัยอายุยืนขึ้น ในการที่จะคัดกรองโรคต่าง ๆ โดยเฉพาะโรคเบาหวาน ความดัน และตรวจสุขภาพประจำปีโดยกลุ่มองค์กรด้านสาธารณสุขในชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของตนเอง เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในตำบลเอราวัณให้ดีขึ้น มีกำลังจิตกำลังใจที่ดีพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงอย่างมีสติและใช้ชีวิตที่เหลืออย่างมีความสุขต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อตรวจสุขภาพประจำปีให้กับผู้สูงอายุ
  2. เพื่อคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง
  3. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจใสนการดูแลสุขภาพตนเอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. บริการตรวจสุขภาพคัดกรองโรค
  2. 2. บรรยายให้ความรู้
  3. 3. นิทรรศการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 450
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ด้อยโอกาส และประชาชนทั่วไปได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี
  2. ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ด้อยโอกาส และประชาชนทั่วไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูง โรคมะเร็งเต้านม โรคมะเร็งปากมดลูก 3.ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ด้อยโอกาส และประชาชนทั่วไปได้รับการตรวจคัดกรองและตรวจสุขภาพช่องปา 4.ผู้ป่วย คนพิการ ได้รับการตรวจคัดกรอง และสามารถรับการจดทะเบียนทำบัตรคนพิการรายใหม่
  3. ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ด้อยโอกาส และประชาชนทั่วไปมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ นำไปสู่การมีสุขภาพที่ดี สามารถลดรายจ่ายด้านการรักษาพยาบาลของหน่วยงานภาครัฐ พร้อมทั้งทราบแนวทางการป้องกันและสามารถดูแลตนเองได้ต่อไป
  4. ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ด้อยโอกาส ญาติพี่น้องผู้ดูแล และประชาชนทั่วไปสามารถลดค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปโรงพยาบาล
  5. ประชาชนในพื้นที่มีทัศนคติที่ดีต่อหน่วยงานราชการโดยเฉพาะในสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ นำไปสู่การแก้ไขปัญหาความไม่สงบในระยะยาวต่อไป

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. บริการตรวจสุขภาพคัดกรองโรค

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

บริการตรวจสุขภาพคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุ  จำนวน  450  คน

 

0 0

2. 2. บรรยายให้ความรู้

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

บรรยายให้ความรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผ฿ู้สูงอายุ จำนวน  450  คน

 

0 0

3. 3. นิทรรศการ

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดนิทรรศการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผุ้สูงอายุ จำนวน  450  คน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อตรวจสุขภาพประจำปีให้กับผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจใสนการดูแลสุขภาพตนเอง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 450
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 450
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อตรวจสุขภาพประจำปีให้กับผู้สูงอายุ (2) เพื่อคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง (3) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจใสนการดูแลสุขภาพตนเอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. บริการตรวจสุขภาพคัดกรองโรค (2) 2. บรรยายให้ความรู้ (3) 3. นิทรรศการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างสุขกายใจ ผู้สูงวัย อายุยืน ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2523-03-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสามะ สะอุดี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด