กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโหนด


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพ (ครั้งที่ 2) ”

ตำบลบ้านโหนด อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายอิบรอเหม บาเหม

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพ (ครั้งที่ 2)

ที่อยู่ ตำบลบ้านโหนด อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5258-02-03 เลขที่ข้อตกลง 6/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 11 กุมภาพันธ์ 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพ (ครั้งที่ 2) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านโหนด อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโหนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพ (ครั้งที่ 2)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพ (ครั้งที่ 2) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านโหนด อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5258-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 กุมภาพันธ์ 2567 - 11 กุมภาพันธ์ 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,127.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโหนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพอนามัยเป็นปัจจัยสําคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิต และความเป็นอยู่ของเด็กนับว่าเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีความสําคัญยิ่ง ที่จะต้องเติบโตเป็นผู้ใหญ่สามารถใช้ชีวิตอย่างเท่าเทียมและ อยู่ร่วมกันกับ ครูผู้สอน และเพื่อนๆ อย่างสงบสุข สุขภาพกายเด็กควรจะได้รับการส่งเสริมพัฒนาการ โดยมุ่งหวังให้เด็กได้รับการพัฒนาให้มีความสมบูรณ์ ทางด้านร่างกาย อารมณ์สังคม และสติปัญญา ภายใต้สภาพแวดล้อม ที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพเด็ก ครูผู้สอน และผู้ปกครอง ซึ่งควรที่จะได้รับการ ส่งเสริมสุขภาพ ผู้ปกครองและชุมชนนับว่ามีบทบาทสําคัญยิ่ง ในการให้ความร่วมมือและช่วยเหลือพัฒนา นักเรียน (ตาดีกา) ส่งเสริม ให้เด็กได้รับการปลูกฝังพฤติกรรม สุขภาพ ทั้งด้านการดูแล สุขภาพตนเองและดูแลความสะอาด ของสิ่งแวดล้อม อันจะส่งผลให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี อีกทั้งต้องพัฒนา เพิ่มประสิทธิภาพครูผู้สอน ได้รับการฝึกอบรมเพิ่มพูนความรู้และทักษะด้านต่าง ๆ เพื่อให้สามารถ ดูแลเด็ก ได้ดียิ่งขึ้น ผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมสนับสนุนกิจกรรม พัฒนาตาดีกาอย่างต่อเนื่อง
ดังนั้น เพื่อสร้างเสริมสุขภาพเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจึงได้บูรณาการงานด้านการส่งเสริมสุขภาพและการ-พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในศูนย์การศึกษาอิสลาม (ตาดีกา) บ้านกระเซะ โดยมีเป้าหมายเพื่อพัฒนาคุณภาพเด็กให้ ได้รับการส่งเสริมให้มีสุขภาพดี อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่สะอาด ปลอดภัย เอื้อการเรียนรู้ ตลอดถึงได้รับ การปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพ และพฤติกรรม อนามัยสิ่งแวดล้อมอย่างเหมาะสม สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ดี เพื่อเด็กจะได้ เติบโตเป็นประชากรที่มีคุณค่าต่อประเทศชาติรวมทั้งเป็นการส่งเสริมการดําเนินงานตามมาตร การป้องกันด้านสุขอนามัยต่างๆ กองการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม จึงได้จัดทําโครงการส่งเสริมสุขภาพเด็ก ในศูนย์การศึกษาอิสลาม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. จำนวน ผู้เรียน 138 คน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมส่งเสริมสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 138
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 จำนวน ผู้เรียน 138 คน
ตัวชี้วัด : 3. ศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด (ตาดีกา) บ้านกระเซะ ต้องรอบรู้ด้านสุขภาพ รายงานผลตรวจ ปีละ 2 ครั้ง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 138
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 138
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) จำนวน ผู้เรียน 138 คน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมส่งเสริมสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพ (ครั้งที่ 2) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5258-02-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอิบรอเหม บาเหม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด