กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก


“ โครงการเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่รู้พิษภัยของบุหรี่ ”



หัวหน้าโครงการ
นายมาหามะนุ บือซา

ชื่อโครงการ โครงการเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่รู้พิษภัยของบุหรี่

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L8302-2-18 เลขที่ข้อตกลง 18/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 31 กรกฎาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่รู้พิษภัยของบุหรี่ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่รู้พิษภัยของบุหรี่



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่รู้พิษภัยของบุหรี่ " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 67-L8302-2-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 31 กรกฎาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,225.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสถานการณ์ปัญหายาเสพติดในเขตเทศบาลตำบลมะรือโบตกยังพบว่ายังมีการแพร่ระบาด จากการสำรวจพบว่ามีการเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้ติดและผู้เสพยาเสพติดมากขึ้นจากเดิม ที่ผู้เสพ ส่วนใหญ่จะอยู่ในช่วงของวัยรุ่นและวัยทำงาน แต่ปัจจุบันพบว่ามีการเพิ่มขึ้นของผู้เสพที่อยู่ในนักเรียนระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษา จึงเห็นได้ว่าปัญหายาเสพติดได้มีการแพร่ระบาดมากยิ่งขึ้นและหนักขึ้น มีจำนวนผู้เสี่ยงที่มีโอกาสเข้าไปติดยาเสพติดเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กนักเรียนในช่วงของวัยรุ่น ระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษาเพื่อเป็นการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนอาแวเทศบาลตำบลมะรือโบตกจึงได้จัดทำโครงการเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่รู้พิษภัยของบุหรี่ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567  เพื่อให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชนให้ตระหนักถึงพิษภัยของยาเสพติด และให้ความสำคัญในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด อีกทั้งเป็นการส่งเสริมกิจกรรมการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนในพื้นที่ให้เป็นทรัพยากรที่ทรงคุณค่า ของประเทศต่อไป       ชุมชนอาแวอยู่ในเขตการปกครองของเทศบาลตำบลมะรือโบตกมีทั้งหมด 12 ชุมชน มีประชากรทั้งหมด 8,๕๖9 คน เป็นเพศชาย 4,343 คน เพศหญิง 4,226 คน ประชากรส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มวัยทำงาน มีอาชีพเกษตรกรรมคือ ทำสวนยางพารา ทำงานมาเลเซีย ก่อสร้าง และปลูกผักตามลำดับ ประชากรกลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชนในพื้นที่เขตเทศบาลตำบลมะรือโบตกมีจำนวน 2,351 คน  ในพื้นที่เขตเทศบาลตำบลมะรือโบตก มีปัญหาด้านสาธารณสุข คือ การติดสารเสพติดร้อยละ 3๐  โดยเฉพาะสารเสพติดประเภทบุหรี่หรือยาสูบ ซึ่งส่วนใหญ่จะติดก่อนอายุ ๑๘ ปี และมักจะติดไปตลอดชีวิต นอกจากนี้ ยังพบว่าผู้ที่ติดสารเสพติดมักมีการติดบุหรี่ก่อนที่จะลองสารเสพติดอื่นๆ ซึ่งพอจะสรุปได้ว่า บุหรี่นั้นเป็นจุดเริ่มต้นของการใช้สารเสพติดชนิดอื่นๆ การสูบบุหรี่ยังเป็นต้นเหตุของหลายปัญหา ทั้งปัญหาโดยตรงด้านสุขภาพ ซึ่งเป็นปัจจัยนำไปสู่โรคเรื้อรังมากมาย และยังเป็นต้นเหตุให้อายุสั้น ซึ่งสร้างผลกระทบด้านเศรษฐกิจและสังคม เนื่องจากสถิติพบว่าผู้ชายสูบบุหรี่มากกว่าผู้หญิง มีผลทำให้ผู้ชายอายุสั้นกว่าผู้หญิงถึง ๔ เท่า จึงเป็นโอกาสที่จะทำให้แต่ละครอบครัวต้องเสียผู้นำครอบครัวไปเพราะโรคที่เกิดจากบุหรี่ และการสูบบุหรี่ยังมีผลต่อรายได้ครอบครัวด้วย  ดังนั้น ทางกลุ่ม pemuda pemudi kampong awae  จึงมีแนวคิดในการป้องกันปัญหาการติดบุหรี่ในกลุ่มเด็กวัยเรียน และเยาวชนรุ่นใหม่ในชุมชน โดยได้จัดทำโครงการเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่รู้พิษภัยของบุหรี่ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567  เพื่อลดอันตรายการสูบบุหรี่ของเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่ และสามารถป้องกันการติดบุหรี่ สามารถป้องกันและแก้ไขการติดบุหรี่ได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดการสูบยาสูบในเด็กและเยาวชนอายุ 15- 25 ปี ในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษภัยของบุหรี่ วิธีการรู้จักปฏิเสธ โรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ วิธีการลด ละ เลิกบุหรี่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้เข้าอบรมมีความรู้และทักษะสามารถดูแลสุขภาพหลีกเลี่ยงป้องกันภัยจากบุหรี่ได้ 2.ผู้เข้าอบรมมีความตระหนักสนใจและมีส่วนร่วม ในการควบคุมการบริโภคยาสูบและร่วมรณรงค์ เพื่อการลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่ 3.มีแกนนำเครือข่ายเด็กและเยาวชนในการขับเคลื่อนในชุมชนปลอดบุหรี่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดการสูบยาสูบในเด็กและเยาวชนอายุ 15- 25 ปี ในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการสูบยาสูบในเด็กและเยาวชนอายุ 15- 25 ปี ในชุมชน
69.00 40.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดการสูบยาสูบในเด็กและเยาวชนอายุ 15- 25 ปี ในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษภัยของบุหรี่  วิธีการรู้จักปฏิเสธ โรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่  วิธีการลด ละ เลิกบุหรี่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่รู้พิษภัยของบุหรี่ จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L8302-2-18

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมาหามะนุ บือซา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด