กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนรัก


“ โครงการ Physical health กายดี มีสุข ส่งเสริมสุขภาพชุมชน ประจำปี 2567 ”

ตำบลดอนรัก อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายมูชารีฟ โตะกีแม

ชื่อโครงการ โครงการ Physical health กายดี มีสุข ส่งเสริมสุขภาพชุมชน ประจำปี 2567

ที่อยู่ ตำบลดอนรัก อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 006/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ Physical health กายดี มีสุข ส่งเสริมสุขภาพชุมชน ประจำปี 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอนรัก อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนรัก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ Physical health กายดี มีสุข ส่งเสริมสุขภาพชุมชน ประจำปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ Physical health กายดี มีสุข ส่งเสริมสุขภาพชุมชน ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอนรัก อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนรัก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันโรคเป็นพาหะที่สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกวัย ไม่ว่าจะเป็นวัยเด็กแรกเกิด วัยรุ่นหรือผู้สูงอายุและมีโรคมากมายที่ยังขาดการให้ความรู้และการช่วยเหลือที่ผิดวิธีตามสถิติ ของกระทรวงสาธารณสุข พบว่า กลุ่มโรค NCDs (Noncommunicable diseases หรือโรคไม่ติดต่อ) ประกอบด้วยโรคเบาหวานโรคหัวใจขาดเลือดโรคทางเดินหายใจโรคเหล่านี้ยังคงเป็นปัญหาสุขภาพอันดับหนึ่งของโลกทั้งในมิติของจำนวนการเสียชีวิตและภาระโรคโดยรวมโดยประเทศไทยมีอัตราการเสียชีวิตจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อต่ำสุดเมื่อเทียบในกลุ่มประเทศภูมิภาคเอเชียใต้-ตะวันตก ปัญหาด้านสุขภาพของสังคมไทยปัจจุบัน พบว่า ข้อมูลปี พ.ศ. 2559โรคไม่ติดต่อยังคงเป็นปัญหาสุขภาพอันดับหนึ่งของประชาชนไทยในแง่ภาระโรค และอัตราการเสียชีวิตซึ่งสถิติในแต่ละปีระบุ การเกิดโรคต่างๆ ในวัยได้ดังนี้ ความดันโลหิตสูงในปี พ.ศ. 2557 เท่ากับร้อยละ 24.7 ซึ่งเพิ่มขึ้นร้อยละ 15 เมื่อเทียบกับปี พ.ศ. 2552 หรือคิดเป็นจำนวน 1.8 ล้านคน ในปี พ.ศ. 2557 โรคเบาหวาน เท่ากับร้อยละ 8.9 ซึ่งเพิ่มขึ้นร้อยละ 29 เมื่อเทียบกับปี พ.ศ. 2552 หรือคิดเป็นจำนวน 8.2 แสนคน และในปี พ.ศ. 2560 ความชุกของบุหรี่ในปัจจุบันเท่ากับร้อยละ 19.1โดยในกลุ่มวัยรุ่นและเยาวชน ที่เคยเป็นกลุ่มที่มีแนวโน้มการสูบบุหรี่เพิ่มขึ้นในช่วงปี พ.ศ. 2544 ถึง พ.ศ. 2555 มีแนวโน้มลดลง แต่อายุเฉลี่ยของการสูบบุหรี่ครั้งแรกอายุประมาณ 17-18 ปีและในปัจจุบันยาเสพติด ยังคงเป็นปัญหาใหญ่ในโลก จำนวนผุ้ติดยาเสพติดในไทยยังคงท้าทาย เด็กและเยาวชนน่าเป็นห่วง สถิติจำนวนผู้ติดยาเสพติดในประเทศไทยยังคงสูง ครองอันดับ ๑ ในกรมราชทัณฑ์ยาเสพติดที่มักพบเจอในกลุ่มวัยรุ่นส่วนใหญ่ คือยาบ้า ยาไอซ์ กัญชาและน้ำกระท่อม ฯลฯ แม้จะมีการร่วมมือกันระหว่างหลายหน่วยงานเพื่อแก้ไขและปราบปรามยาเสพติด แต่ยาเสพติดก็ยังคงแพร่กระจายอยู่ในชุมชน ดังนั้นชุมชนควรมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหายาเสพติด มีแนวทางในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดทุกวัยจึงควรหันมาใส่ใจดูแลสุขภาพและ ห่างไกลจากยาเสพติดเพื่อให้มีสุขภาพที่แข็งแรงและมีความสุข (ข้อมูลอ้างอิงจาก : กรมควบคุมโรค กองโรคไม่ติดต่อ)

แม้ว่าโรคที่กล่าวข้างต้นจะเกิดขึ้นในกลุ่มวัยรุ่น หรือวัยทำงานน้อย แต่กลุ่มโรคอื่นๆ ที่ยังสามารถเกิดขึ้นได้ เช่น โรคปลอกประสาทอักเสบ โรคลูปัส โรคซึมเศร้า โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ก็ยังคงสามารถเกิดขึ้นได้ในวัยรุ่น และเพราะเหตุนี้ทางสภาเด็กและเยาวชนตำบลดอนรัก จึงได้คิดโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อให้เยาวชนและประชาชนในพื้นที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับโรคสุขภาพมากขึ้น เพื่อได้เรียนรู้เกี่ยวกับการป้องกันและหลีกเหลี่ยงโรคสุขภาพให้ห่างไกลจากชุมชนและเพื่อเป็นการให้ข้อมูลที่ถูกต้องให้กับคนในชุมชน ได้มีวิธีปฏิบัติที่ถูกวิธี และสามารถนำไปใช้ในชีวิตปประจำวันได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กและเยาวชน มีความรู้และทักษะเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเอง หลีกเหลี่ยงการเกิดโรคต่างๆ
  2. เพื่อให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชนในการป้องกันและหลีกเลี่ยงยาเสพติด
  3. เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนดูแลสุขภาพอย่างถูกวิธี สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมเตรียมความพร้อม
  2. กิจกรรมจัดอบรมสภาเด็กและเยาวชนตำบลดอนรัก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าร่วมการอบรมมีความรู้และทักษะพื้นฐานเกี่ยวกับป้องกันจากโรคสุขภาพ
  2. เด็กและเยาวชน ประชาชนในพื้นที่สามารถได้เรียนรู้และเผยแพร่ให้กับคนรอบข้างได้
  3. เด็กและเยาวชนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพอย่างถูกวิธี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กและเยาวชน มีความรู้และทักษะเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเอง หลีกเหลี่ยงการเกิดโรคต่างๆ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและเยาวชน มีความรู้และทักษะเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเอง หลีกเหลี่ยงการเกิดโรคต่างๆ
90.00

 

2 เพื่อให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชนในการป้องกันและหลีกเลี่ยงยาเสพติด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและเยาวชนมีความรู้ในการป้องกันและหลีกเลี่ยงยาเสพติด
90.00

 

3 เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนดูแลสุขภาพอย่างถูกวิธี สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและเยาวชนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพอย่างถูกวิธี สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กและเยาวชน มีความรู้และทักษะเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเอง หลีกเหลี่ยงการเกิดโรคต่างๆ (2) เพื่อให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชนในการป้องกันและหลีกเลี่ยงยาเสพติด (3) เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนดูแลสุขภาพอย่างถูกวิธี สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมเตรียมความพร้อม (2) กิจกรรมจัดอบรมสภาเด็กและเยาวชนตำบลดอนรัก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ Physical health กายดี มีสุข ส่งเสริมสุขภาพชุมชน ประจำปี 2567 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมูชารีฟ โตะกีแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด