กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ


“ โครงการเข้าสุนัตหมู่ในเยาวชนมุสลิมตำบลตาเนาะปูเต๊ะ ประจำปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวมูณา ฮามิดง

ชื่อโครงการ โครงการเข้าสุนัตหมู่ในเยาวชนมุสลิมตำบลตาเนาะปูเต๊ะ ประจำปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ L8411-01-67-07 เลขที่ข้อตกลง 06/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 31 ตุลาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเข้าสุนัตหมู่ในเยาวชนมุสลิมตำบลตาเนาะปูเต๊ะ ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเข้าสุนัตหมู่ในเยาวชนมุสลิมตำบลตาเนาะปูเต๊ะ ประจำปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเข้าสุนัตหมู่ในเยาวชนมุสลิมตำบลตาเนาะปูเต๊ะ ประจำปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ L8411-01-67-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 31 ตุลาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 79,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย (การเข้าสุนัต) เป็นพิธีกรรมที่สำคัญอย่างหนึ่งของผู้ชายมุสลิมที่ทุกคนพึงปฏิบัติ ซึ่งภาษาอาหรับเรียกว่า คีตาน ภาษามลายูเรียกว่า มาโซะยาวี คนไทยทั่วไป เรียกว่า พิธีเข้าสุนัต คือการขลิบปลายอวัยวะเพศของเด็กไทยมุสลิมทั้งชายและหญิง ซึ่งเป็นเรื่องเกี่ยวกับการการเอาใจใส่ในการรักษาสุขอนามัย ความสะอาดของอวัยวะเพศส่วนบุคคลตามหลักศาสนาอิสลาม การเข้าสุนัตจะเกี่ยวกับการทำความสะอาดร่างกายที่ต้องตัด ตบแต่ง เพื่อขจัดความสกปรกและสาเหตุผลการแพทย์เกี่ยวกับเรื่องนี้ ท่านศาสดาในศาสนาอิสลามได้ให้โอวาทเกี่ยวกับเรื่องการเข้าสุนัต ไว้ดังนี้ “ธรรมชาติ ๔ สิ่ง (ในกายมนุษย์) ที่ต้องได้รับการตบแต่ง คือ การเข้าสุนัต การขจัดขนในร่มผ้า ตัดเล็บ และการแต่งหนวดเครา” การตัดหนังปลายหุ้มอวัยวะสืบพันธุ์ของชาย (การเข้าสุนัต) เป็นส่วนหนึ่งของการทำความสะอาด หากหนังหุ้มนั้นยังปกคลุมอยู่ส่วนวัตถุที่เป็นเนยแข็งซึ่งขับถ่ายออกมโดยผิวหนังบริเวณปลายอวัยวะสืบพันธุ์ก็จะสะสมของเชื้อแบคทีเรีย การเข้าสุนัตจึงเป็นการขจัดเชื้อแบคทีเรียได้และเป็นวิธีที่ดีที่สุด การเข้าสุนัต จะกระทำกับเด็กอายุระหว่าง ๕-๑๒ ปีโดยผู้นำศาสนา บิดามารดา หรือญาติพี่น้องจะไปว่าจ้างผู้ที่มีความชำนาญ เพื่อประกอบพิธีทางศาสนา จากงานวิจัยพบว่าการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย สามารถลดความเสี่ยงโรคติดต่อทางเพศ เช่น ซิฟิลิส แผลริมอ่อน เอดส์ (HIV) และลดความเสี่ยงของมะเร็งองคชาติ ได้ร้อยละ ๕๐-๖๐ เนื่องจากผิวหนังบริเวณนี้ จะมีต่อมซึ่งจะสร้างสารที่เรียกว่า smegma คือคราบตะกรันที่เกาะตามอวัยวะเพศชาย ซึ่งเป็นแหล่งสะสมของเชื้อแบคทีเรีย และถ้าหากขลิบในวัยเด็กก็จะลดโอกาสเกิดการติดเชื้อของทางเดินปัสสาวะในเด็กได้ด้วย ดังนั้นกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลตาเนาะปูเต๊ะ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อเป็นการรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ นอกจากนี้ทำให้เด็กและเยาวชนมุสลิมในตำบลตาเนาะปูเต๊ะ สามารถเข้าถึงบริการด้านการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคอีกด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคติดเชื้อ
  2. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมุสลิมในพื้นที่สามารถเข้าถึงบริการด้านการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค
  3. เพื่อช่วยทำนุบำรุงศาสนาและอนุรักษ์ประเพณีท้องถิ่นให้คงอยู่สืบไป

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมบรรยายความรู้ในการเข้าสุนัตและดูแลสุขภาพ (การป้องกันโรคติดต่อ)
  2. กิจกรรมเข้าสุนัตหมู่ (การขลิบปลายหนังหุ้มอวัยวะเพศชาย)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 เด็กและเยาวชนมุสลิมได้รับการทำสุนัต (ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย) อย่างถูกต้องปลอดภัย 2 เด็กและเยาวชนมุสลิมที่ได้รับการทำสุนัต สามารถลดภาวะเสี่ยงของการเกิดโรคติดต่อทางเพศได้ 3 เด็กและเยาวชนมุสลิมมีความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคติดเชื้อ 4 สามารถทำนุบำรุงศาสนาและอนุรักษ์ประเพณีท้องถิ่นให้คงอยู่สืบไป


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคติดเชื้อ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 85 ของเด็กและเยาวชนตระหนักและเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค

 

2 เพื่อให้เด็กและเยาวชนมุสลิมในพื้นที่สามารถเข้าถึงบริการด้านการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคได้

 

3 เพื่อช่วยทำนุบำรุงศาสนาและอนุรักษ์ประเพณีท้องถิ่นให้คงอยู่สืบไป
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 85 ของเด็กและเยาวชนรู้จักทำนุบำรุงศาสนาและอนุรักษ์ประเพณีท้องถิ่นให้คงอยู่สืบไป

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคติดเชื้อ (2) เพื่อให้เด็กและเยาวชนมุสลิมในพื้นที่สามารถเข้าถึงบริการด้านการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค (3) เพื่อช่วยทำนุบำรุงศาสนาและอนุรักษ์ประเพณีท้องถิ่นให้คงอยู่สืบไป

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมบรรยายความรู้ในการเข้าสุนัตและดูแลสุขภาพ (การป้องกันโรคติดต่อ) (2) กิจกรรมเข้าสุนัตหมู่ (การขลิบปลายหนังหุ้มอวัยวะเพศชาย)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเข้าสุนัตหมู่ในเยาวชนมุสลิมตำบลตาเนาะปูเต๊ะ ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ L8411-01-67-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวมูณา ฮามิดง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด