การควบคุมโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะในชุมชนสถานีอู่ตะเภา ปี 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ การควบคุมโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะในชุมชนสถานีอู่ตะเภา ปี 2567 ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
ชุมชนสถานีอู่ตะเภา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่
พฤษภาคม 2567
ชื่อโครงการ การควบคุมโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะในชุมชนสถานีอู่ตะเภา ปี 2567
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L7258-02-29 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 31 พฤษภาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"การควบคุมโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะในชุมชนสถานีอู่ตะเภา ปี 2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
การควบคุมโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะในชุมชนสถานีอู่ตะเภา ปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " การควบคุมโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะในชุมชนสถานีอู่ตะเภา ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L7258-02-29 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 31 พฤษภาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,290.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทย ส่วนใหญ่มักเป็นในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ในผู้ใหญ่อาจพบ
างบางรายอาการรุนแรงจนทำให้เสียชีวิตได้ มักระบาดในช่วงหน้าฝนเพราะพาหะของโรคคือยุ่งลาย ลักษะ
ยุงลาย พบมากตามบ้านที่อยู่อาศัย ในสวน ขยายพันธุ์โดยวางใชในน้ำนิ่งพบบ่อยในภาชนะน้ำชัง เช่น โอ่ง แจกันดอกไม้ ยาง
รถยนต์เก่า หรือเศษวัสดุที่รองรับน้ำได้ทุกชนิด ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด และได้รับความ
ร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐและเอกชน พบว่าปัญหาของโรคเช้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนัก ยังคงเป็นปัญหาสำคัญใน
ระดับประเทศ จะเห็นได้ว่าอัตราป่วยมีแนวโน้มสูงขึ้น การระบาดของโรคไข้เลือดออกส่วนมากจะพบผู้ป่วยในช่วงเดือนมีนาคม -
ยายน ของทุกปี ซึ่งตรงกับการเปิดภาคเรียนที่หนึ่งพอดี และชีวนิสัยของยุงชอบออกหากินเวลากลางวัน จึงสันนิฐ
อและการกระจายโรค จะเกิดขึ้นได้ทั้งชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเด็กเล็ก บ้าน วัด และโรงเรียน ด้วยเหตุนี้การคา
อาศัยความร่วมมือทั้งจากทุกภาคส่วนและภาคีเครือข่าย ทั้งภาศรัฐ เอกชน ประชาชน ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดอก
ที่มีมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับสู่นโยบายเชิงรกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมี
ส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออก เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง
พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม
ดังนั้นการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรค
ที่เปลี่ยนแปลง โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกันกระตุ้นและชักน้ำให้ประชาชนในชุมชุมชนเกิด
ความตระหนัก โดยการมีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง
และชุมชนสถานีอู่ตะเภา เทศบาลนครหาดใหญ่ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาการระบาดของโรค
ไข้เลือดออก จึงได้จัดทำโครงการควบคุมโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะในชุมชนสถานีอู่ตะเภา ปี 2567
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และความเข้าใจ ตระหนักในการป้องกันโรค
- ข้อที่ 2 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายลดอัตราป่วย โรคไข้เลือดของประชากรในชุมชน
- ข้อที่ 3 ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่ง เพาะพันธุ์ยุงลายอย่างสม่ำเสมอ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้
- 2.กิจกรรมเดินรณรงค์ในชุมชน จำนวน 1 ครั้ง
- 3.กิจกรรมสำรวจ และกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน จำนวน 4 ครั้ง (จำนวน 1 เดือน/สัปดาห์ละ 1 ครั้ง)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนมีความรู้และความเข้าใจ ได้รับความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 80
- ชุมชนมีสิ่งแวดล้อมที่ดีไม่มีแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ประชาชนป่วยด้วยโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้
วันที่ 1 มีนาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าอบรมและผู้ที่เกี่ยวข้อง
จำนวน 50 คนๆละ 1 มื้อละ 35 บาท
เป็นเงิน 1,750 บาท
2.ค่าตอบแทนวิทยากรให้ความรู้ฯ จำนวน 1 คนๆละ 2 ชั่วโมงละ
600 บาท
เป็นเงิน 1,200 บาท
3..ป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ (ขนาด 1.2 x 2.5 เมตร/ตรม.
ละ 150 บาท) จำนวน 1 ผืนๆละ 450 บาท เป็นเงิน 450 บาท
4.ค่าจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องในการจัดอบรม ได้แก่ กระดาษ
4A , สมุดปกอ่อน , ปากกาลูกลื่น , ปากกาเคมี กระดาษสี เทปกาว
, แผ่นรองเขียน , แฟ้มพลาสติก F4 ฯลฯ เป็นเงิน 1,500 บาท
รวมเป็นเงิน 4,900 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจมากขึ้น
0
0
2. 2.กิจกรรมเดินรณรงค์ในชุมชน จำนวน 1 ครั้ง
วันที่ 1 มีนาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
1 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมและผู้ที่
เกี่ยวข้อง จำนวน 1 ครั้งๆละ 30 คนๆละ 1 มื้อๆละ 35 บาท
เป็นเงิน 1,050 บาท
2 ป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์และรณรงค์ไข้เลือดออก (ขนาด 1.2 x
2.5)เมตร/ตรม.ละ 150 บาท) จำนวน 2 ผืนๆละ 450 บาท
เป็นเงิน 900 บาท
3 ค่าจ้างถ่ายเอกสาร แผ่นพับ จำนวน 1,000 แผ่นๆละ 1 บาท
เป็นเงิน 1,000 บาท
4. ทรายกำจัดลูกน้ำยุงลาย (ขอสนับสนุนจากเทศบาล)
รวมเป็นเงิน 2,950 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ชุมชนมีสิ่งแวดล้อมที่ดีไม่มีแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย
0
0
3. 3.กิจกรรมสำรวจ และกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน จำนวน 4 ครั้ง (จำนวน 1 เดือน/สัปดาห์ละ 1 ครั้ง)
วันที่ 1 มีนาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
จำนวน 4 ครั้งๆละ 30 คนๆละ 1 มื้อละ 35 บาท
เป็นเงิน 4,200 บาท
2 ไฟฉายพร้อมถ่าย จำนวน 3 อันๆละ 180 บาท
เป็นเงิน 540 บาท
3. ไม้กวาดทางมะพร้าวด้ามไม้ไผ่ จำนวน 5 ด้ามๆละ 60 บาท
เป็นเงิน 300 บาท
4. ถุงใส่ขยะ (ขนาด 30 x 40 นิ้ว) จำนวน 4 พับๆละ 100 บาท
เป็นเงิน 400 บาท
5. หน้ากากอนามัย จำนวน 4 กล่อง (ขอสนับสนุนจากเทศบาล)
6. ถุงมือยางทางการแพทย์ (ชนิดไม่มีแป้ง size L)
จำนวน 4 กล่อง (ขอสนับสนุนจากเทศบาล)
รวมเป็นเงิน 5,440 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชาชนมีส่วนร่วมกันมากขึ้น
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และความเข้าใจ ตระหนักในการป้องกันโรค
ตัวชี้วัด : - ประชาชนมีความรู้และความเข้าใจ ได้รับความรู้เพิ่มขึ้น
ร้อยละ 80
2
ข้อที่ 2 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายลดอัตราป่วย โรคไข้เลือดของประชากรในชุมชน
ตัวชี้วัด : - ชุมชนมีสิงแวดล้อมที่ดี ไม่มีแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย
ประชาชนป่วยด้วยโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะลดลง
3
ข้อที่ 3 ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่ง เพาะพันธุ์ยุงลายอย่างสม่ำเสมอ
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และความเข้าใจ ตระหนักในการป้องกันโรค (2) ข้อที่ 2 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายลดอัตราป่วย โรคไข้เลือดของประชากรในชุมชน (3) ข้อที่ 3 ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่ง เพาะพันธุ์ยุงลายอย่างสม่ำเสมอ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (2) 2.กิจกรรมเดินรณรงค์ในชุมชน จำนวน 1 ครั้ง (3) 3.กิจกรรมสำรวจ และกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน จำนวน 4 ครั้ง (จำนวน 1 เดือน/สัปดาห์ละ 1 ครั้ง)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
การควบคุมโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะในชุมชนสถานีอู่ตะเภา ปี 2567 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L7258-02-29
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ชุมชนสถานีอู่ตะเภา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ การควบคุมโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะในชุมชนสถานีอู่ตะเภา ปี 2567 ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
ชุมชนสถานีอู่ตะเภา
พฤษภาคม 2567
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L7258-02-29 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 31 พฤษภาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"การควบคุมโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะในชุมชนสถานีอู่ตะเภา ปี 2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
การควบคุมโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะในชุมชนสถานีอู่ตะเภา ปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " การควบคุมโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะในชุมชนสถานีอู่ตะเภา ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L7258-02-29 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 31 พฤษภาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,290.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทย ส่วนใหญ่มักเป็นในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ในผู้ใหญ่อาจพบ างบางรายอาการรุนแรงจนทำให้เสียชีวิตได้ มักระบาดในช่วงหน้าฝนเพราะพาหะของโรคคือยุ่งลาย ลักษะ ยุงลาย พบมากตามบ้านที่อยู่อาศัย ในสวน ขยายพันธุ์โดยวางใชในน้ำนิ่งพบบ่อยในภาชนะน้ำชัง เช่น โอ่ง แจกันดอกไม้ ยาง รถยนต์เก่า หรือเศษวัสดุที่รองรับน้ำได้ทุกชนิด ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด และได้รับความ ร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐและเอกชน พบว่าปัญหาของโรคเช้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนัก ยังคงเป็นปัญหาสำคัญใน ระดับประเทศ จะเห็นได้ว่าอัตราป่วยมีแนวโน้มสูงขึ้น การระบาดของโรคไข้เลือดออกส่วนมากจะพบผู้ป่วยในช่วงเดือนมีนาคม - ยายน ของทุกปี ซึ่งตรงกับการเปิดภาคเรียนที่หนึ่งพอดี และชีวนิสัยของยุงชอบออกหากินเวลากลางวัน จึงสันนิฐ อและการกระจายโรค จะเกิดขึ้นได้ทั้งชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเด็กเล็ก บ้าน วัด และโรงเรียน ด้วยเหตุนี้การคา อาศัยความร่วมมือทั้งจากทุกภาคส่วนและภาคีเครือข่าย ทั้งภาศรัฐ เอกชน ประชาชน ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดอก ที่มีมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับสู่นโยบายเชิงรกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมี ส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออก เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้นการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรค ที่เปลี่ยนแปลง โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกันกระตุ้นและชักน้ำให้ประชาชนในชุมชุมชนเกิด ความตระหนัก โดยการมีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง และชุมชนสถานีอู่ตะเภา เทศบาลนครหาดใหญ่ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาการระบาดของโรค ไข้เลือดออก จึงได้จัดทำโครงการควบคุมโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะในชุมชนสถานีอู่ตะเภา ปี 2567
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และความเข้าใจ ตระหนักในการป้องกันโรค
- ข้อที่ 2 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายลดอัตราป่วย โรคไข้เลือดของประชากรในชุมชน
- ข้อที่ 3 ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่ง เพาะพันธุ์ยุงลายอย่างสม่ำเสมอ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้
- 2.กิจกรรมเดินรณรงค์ในชุมชน จำนวน 1 ครั้ง
- 3.กิจกรรมสำรวจ และกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน จำนวน 4 ครั้ง (จำนวน 1 เดือน/สัปดาห์ละ 1 ครั้ง)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนมีความรู้และความเข้าใจ ได้รับความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 80
- ชุมชนมีสิ่งแวดล้อมที่ดีไม่มีแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ประชาชนป่วยด้วยโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ |
||
วันที่ 1 มีนาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าอบรมและผู้ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 50 คนๆละ 1 มื้อละ 35 บาท เป็นเงิน 1,750 บาท 2.ค่าตอบแทนวิทยากรให้ความรู้ฯ จำนวน 1 คนๆละ 2 ชั่วโมงละ 600 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท 3..ป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ (ขนาด 1.2 x 2.5 เมตร/ตรม. ละ 150 บาท) จำนวน 1 ผืนๆละ 450 บาท เป็นเงิน 450 บาท 4.ค่าจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องในการจัดอบรม ได้แก่ กระดาษ 4A , สมุดปกอ่อน , ปากกาลูกลื่น , ปากกาเคมี กระดาษสี เทปกาว , แผ่นรองเขียน , แฟ้มพลาสติก F4 ฯลฯ เป็นเงิน 1,500 บาท รวมเป็นเงิน 4,900 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชาชนมีความรู้ความเข้าใจมากขึ้น
|
0 | 0 |
2. 2.กิจกรรมเดินรณรงค์ในชุมชน จำนวน 1 ครั้ง |
||
วันที่ 1 มีนาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ1 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมและผู้ที่ เกี่ยวข้อง จำนวน 1 ครั้งๆละ 30 คนๆละ 1 มื้อๆละ 35 บาท เป็นเงิน 1,050 บาท 2 ป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์และรณรงค์ไข้เลือดออก (ขนาด 1.2 x 2.5)เมตร/ตรม.ละ 150 บาท) จำนวน 2 ผืนๆละ 450 บาท เป็นเงิน 900 บาท 3 ค่าจ้างถ่ายเอกสาร แผ่นพับ จำนวน 1,000 แผ่นๆละ 1 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท 4. ทรายกำจัดลูกน้ำยุงลาย (ขอสนับสนุนจากเทศบาล) รวมเป็นเงิน 2,950 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นชุมชนมีสิ่งแวดล้อมที่ดีไม่มีแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย
|
0 | 0 |
3. 3.กิจกรรมสำรวจ และกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน จำนวน 4 ครั้ง (จำนวน 1 เดือน/สัปดาห์ละ 1 ครั้ง) |
||
วันที่ 1 มีนาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 4 ครั้งๆละ 30 คนๆละ 1 มื้อละ 35 บาท เป็นเงิน 4,200 บาท 2 ไฟฉายพร้อมถ่าย จำนวน 3 อันๆละ 180 บาท เป็นเงิน 540 บาท 3. ไม้กวาดทางมะพร้าวด้ามไม้ไผ่ จำนวน 5 ด้ามๆละ 60 บาท เป็นเงิน 300 บาท 4. ถุงใส่ขยะ (ขนาด 30 x 40 นิ้ว) จำนวน 4 พับๆละ 100 บาท เป็นเงิน 400 บาท 5. หน้ากากอนามัย จำนวน 4 กล่อง (ขอสนับสนุนจากเทศบาล) 6. ถุงมือยางทางการแพทย์ (ชนิดไม่มีแป้ง size L) จำนวน 4 กล่อง (ขอสนับสนุนจากเทศบาล) รวมเป็นเงิน 5,440 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชาชนมีส่วนร่วมกันมากขึ้น
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และความเข้าใจ ตระหนักในการป้องกันโรค ตัวชี้วัด : - ประชาชนมีความรู้และความเข้าใจ ได้รับความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 |
|
|||
2 | ข้อที่ 2 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายลดอัตราป่วย โรคไข้เลือดของประชากรในชุมชน ตัวชี้วัด : - ชุมชนมีสิงแวดล้อมที่ดี ไม่มีแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย ประชาชนป่วยด้วยโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะลดลง |
|
|||
3 | ข้อที่ 3 ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่ง เพาะพันธุ์ยุงลายอย่างสม่ำเสมอ ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และความเข้าใจ ตระหนักในการป้องกันโรค (2) ข้อที่ 2 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายลดอัตราป่วย โรคไข้เลือดของประชากรในชุมชน (3) ข้อที่ 3 ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่ง เพาะพันธุ์ยุงลายอย่างสม่ำเสมอ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (2) 2.กิจกรรมเดินรณรงค์ในชุมชน จำนวน 1 ครั้ง (3) 3.กิจกรรมสำรวจ และกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน จำนวน 4 ครั้ง (จำนวน 1 เดือน/สัปดาห์ละ 1 ครั้ง)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
การควบคุมโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะในชุมชนสถานีอู่ตะเภา ปี 2567 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L7258-02-29
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ชุมชนสถานีอู่ตะเภา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......