กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา


“ โครงการส่งเสริมธนาคารขยะ ลดขยะ ลดโรค ชุมชนบ้านกูวิง หมู่ที่5 ”

ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายอดิศักดิ์ สาเมาะ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมธนาคารขยะ ลดขยะ ลดโรค ชุมชนบ้านกูวิง หมู่ที่5

ที่อยู่ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3013-02-21 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 14 มีนาคม 2567 ถึง 31 กรกฎาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมธนาคารขยะ ลดขยะ ลดโรค ชุมชนบ้านกูวิง หมู่ที่5 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมธนาคารขยะ ลดขยะ ลดโรค ชุมชนบ้านกูวิง หมู่ที่5



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมธนาคารขยะ ลดขยะ ลดโรค ชุมชนบ้านกูวิง หมู่ที่5 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3013-02-21 ระยะเวลาการดำเนินงาน 14 มีนาคม 2567 - 31 กรกฎาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันปัญหาขยะในชุมชน ได้ทวีความรุนแรงขึ้นเป็นลำดับเนื่องจากการเพิ่มขึ้นของประชากร และพฤติกรรมการบริโภคที่เปลี่ยนไปจากเดิม ทำให้เกิดปัญหาขยะล้นเมืองส่งผลให้เกิดการแพร่กระจายของเชื้อโรค เป็นแหล่งที่อยู่ของสัตว์พาหะนำโรคที่จะส่งผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมตามมาในภายหลัง การคัดแยะขยะก่อนทิ้งในครัวเรือน จะช่วยลดปริมาณขยะในครัวเรือนเละลดปัญหาขยะที่ตกค้างในชุมชน ทั้งกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค เช่น หนู แมลงวัน แมลงสาบ ซึ่งเป็นพาหะนำโรคมาสู่คน รวมไปถึงการลดใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ลดใช้พลังงาน และลดมลพิษที่อาจจะเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อลดปัญหาการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะและขยะตกค้าง จึงต้องมีการคัดแยกขยะให้ถูกประเภท เพื่อสะดวกในการจัดการ เช่น ขยะย่อยสลายได้ก็นำไปทำปุ๋ยหมัก(ถังขยะเปียก) ขยะอันตรายนำเข้าสู่ระบบการกำจัดที่ถูกหลักสุขาภิบาล ส่วนขยะรีไซเคิลนำกลับไปใช้ประโยชน์ใหม่หรือนำไปจำหน่าย ส่วนขยะทั่วไปนำไปทิ้งหรือกำจัดอย่างถูกหลักสุขาภิบาลต่อไป ในการนี้ คณะกรรมการธนาคารขยะหมู่ที่ 5 จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมธนาคารขยะ ลดขยะ ลดโรค ชุมชนบ้านกูวิง หมู่ที่ 5 ขึ้น เพืิ่อสนับสนุนให้ประชาชนคัดแยกขยะที่ต้นทางภายใต้หลักการ 3Rs คือ ใช้น้อยลง ใช้ซํ้า นำกลับมาใช้ใหม่ และรณรงค์สร้างความรับรู้ ความเข้าใจให้ประชาชนในทุกพื้นที่มีส่วนร่วม ในการลดปริมาณขยะและคัดแยกขยะที่สามารถนำไปรีไซเคิลได้ ตามนโยบายของกระทรวงมหาดไทย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้คณะกรรมการและคณะทำงานธนาคารขยะ มีความเข้าใจในการคัดแยกขยะจากต้นทาง และสร้างมูลค่าให้กับขยะเหลือใช้
  2. เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพอนามัยของคนในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะกรรมการและคณะทำงานธนาคารขยะ
  2. อบรมเชิงปฏิบัติการการคัดแยกขยะและการดำเนินงานธนาคารขยะ
  3. กิจกรรมจัดตั้งธนาคารขยะ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนสามารถคัดแยกขยะในครัวเรือนได้อย่างถูกต้อง
  2. มีการดำเนินงานธนาคารขยะอย่างต่อเนื่องในชุมชน
  3. ลดปริมาณขยะมูลฝอยในชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้คณะกรรมการและคณะทำงานธนาคารขยะ มีความเข้าใจในการคัดแยกขยะจากต้นทาง และสร้างมูลค่าให้กับขยะเหลือใช้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของคณะกรรมการและคณะทำงานธนาคารขยะ มีความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะตั้งแต่ต้นทาง
0.00

 

2 เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพอนามัยของคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ของครัวเรือนมีการคัดแยกขยะและจำหน่ายแก่ธนาคารขยะในชุมชน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้คณะกรรมการและคณะทำงานธนาคารขยะ มีความเข้าใจในการคัดแยกขยะจากต้นทาง และสร้างมูลค่าให้กับขยะเหลือใช้ (2) เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพอนามัยของคนในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะกรรมการและคณะทำงานธนาคารขยะ (2) อบรมเชิงปฏิบัติการการคัดแยกขยะและการดำเนินงานธนาคารขยะ (3) กิจกรรมจัดตั้งธนาคารขยะ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมธนาคารขยะ ลดขยะ ลดโรค ชุมชนบ้านกูวิง หมู่ที่5 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3013-02-21

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอดิศักดิ์ สาเมาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด