กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมโภชนาการในเด็กเล็กและก่อนวัยเรียน
รหัสโครงการ 67-L2529-3-3
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปาหนัน
วันที่อนุมัติ 31 มกราคม 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ธันวาคม 2566 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 40,275.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสากีนะ มะนอฆอ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลศรีสาคร อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.152,101.492place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 212 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เด็กในช่วงแรกเกิด - 6 ขวบ ถือเป็นช่วงที่เริ่มมีการพัฒนาในด้านต่างๆอย่างรวดเร็ว ทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจและสังคม เด็กในวัยนี้ถ้าได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสม ก็จะส่งผลถึงสุขภาพดีไม่เจ็บป่วย ซึ่ง การรับประทานอาหารที่ถูกต้อง เหมาะสม และเพียงพอจะทำให้มีโภชนาการดีและนำไปสู่การมีสุขภาพดี ในทาง ตรงกันข้ามหากกินอาหารที่ไม่มีประโยชน์ ไม่เพียงพอจะทำให้ขาดสารอาหารหรือถ้ากินอาหารมากเกินไป ก็จะทำให้เป็นโรคอ้วนหรือโภชนาการเกิน "โภชนาการ" จึงเป็นเรื่องของการกินอาหาร ที่ร่างกายเรานำสารอาหารจาก อาหารไปใช้ประโยชน์ และดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างเป็นสุข อาหารและโภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพ โดยเฉพาะในเด็กวัยก่อนเรียนซึ่งเป็นวัยรากฐานของการพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา ปัญหาโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้คือ ภาวะการเจริญเติบโตที่ไม่สมวัย จากโรคขาดสารอาหาร ภาวะ โภชนาการเกิน การขาดสารไอโอดีน ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กโดยมีสาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมการ เลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ลดลง การให้อาหารแก่เด็กเร็วเกินไปและไม่ถูกต้อง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลโพนงาม ได้เล็งเห็นความสำคัญของการเฝ้าระวังการเกิดภาวะโภชนาการในเด็กเล็ก และก่อนวัยเรียนเพื่อให้เด็กมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง มีการเจริญเติบโตของสมองและร่างกายเหมาะสมตามวัย จึง ได้จัดทำโครงการส่งเสริมโภชนาการในเด็กเล็กและก่อนวัยเรียนและส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ในเด็กเล็กและ ก่อนวัยเรียน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ ๑. เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครองเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เฝ้าระวังการเกิดภาวะโภชนาการ การขาดสารอาหารในเด็ก

ร้อยละ ๙๐ เด็กเล็กได้รับการประเมินสุขภาพร่างกายตามเกณฐ์มาตรฐาน

2 ข้อที่ 2. เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครองเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้มีความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการ ประกอบอาหารโดยใช้เกลือไอโอดีน

ร้อยละ ๙๐ เด็กเล็กได้รับการดูแลสุขภาพและแก้ไขอย่างถูกวิธี

3 ข้อที่ ๓. เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครองเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้สังเกตติดตามการเปลี่ยนแปลง ทางด้านพัฒนาการการเจริญเติบโตของเด็กเหมะสมตามวัย

ร้อยละ ๙๐ ผู้ปกครอง ครู ผู้ดูแลเด็ก และ อสม.ได้รับความรู้การดูแลสุขภาพโภชนาการอาหารที่ถูกต้อง

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณธ.ค. 66ม.ค. 67ก.พ. 67มี.ค. 67เม.ย. 67พ.ค. 67มิ.ย. 67ก.ค. 67ส.ค. 67ก.ย. 67
1 กิจกรรมอบรมที่ ๑ ๑.ให้ความรู้เกี่ยวกับการเฝ้าระวังการและติดตามการเกิดภาวะโภชนาการ การขาดสารอาหารในเด็ก ๒. อบรมให้ความรู้เรื่องการประกอบอาหารโดยใช้เกลือไอโอดีน และประโยชน์ของสารไอโอดี ๓. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการสังเกตและติดตามพัฒนาการการเจริญเติบโตของเ(1 ธ.ค. 2566-30 ก.ย. 2567) 0.00                    
รวม 0.00
1 กิจกรรมอบรมที่ ๑ ๑.ให้ความรู้เกี่ยวกับการเฝ้าระวังการและติดตามการเกิดภาวะโภชนาการ การขาดสารอาหารในเด็ก ๒. อบรมให้ความรู้เรื่องการประกอบอาหารโดยใช้เกลือไอโอดีน และประโยชน์ของสารไอโอดี ๓. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการสังเกตและติดตามพัฒนาการการเจริญเติบโตของเ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครองเด็กปฐมวัยได้ติดตาม และเฝ้าระวังการเกิดภาวะโภชนาการ การขาด สารอาหารในเด็ก
  2. ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครองเด็กปฐมวัยได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้เกลือไอโอดีนในการ ประกอบอาหาร และประโยชน์ของสารไอโอดีน
  3. ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครองเด็กปฐมวัยได้สังเกตติดตามพฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงด้านพัฒนาการการ เจริญเติบโตของเด็กเหมะสมตามวัย
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 ก.พ. 2567 11:00 น.