กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยปฐมวัยสวมหมวกนิรภัยมีวินัยจราจร
รหัสโครงการ 67-L1501-3-002
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.บ้านโพธิ์
วันที่อนุมัติ 18 มกราคม 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2567
งบประมาณ 10,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.บ้านโพธิ์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.604,99.627place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานความปลอดภัยทางถนน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ก.พ. 2567 30 ก.ย. 2567 10,000.00
รวมงบประมาณ 10,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 35 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มวัยทำงาน 38 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การส่งเสริมให้ผู้ขับขี่มีวินัยและสวมหมวกนิรภัยมากขึ้น เป็นวิธีการสำคัญในการเพิ่มความปลอดภัยบนท้องถนน และเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพที่สุดในการลดการเสียชีวิตและการบาดเจ็บที่ศรีษะอันเนื่องมาจากอุบัติเหตุ ผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ที่ไม่สวมหมวกนิรภัย มีความเสี่ยงสูงที่จะได้รับบาดเจ็บที่ศรีษะหรือเสียชีวิตจากการบาดเจ็บประเภทนี้ นอกจากผู้ขับขี่ที่ไม่สวมหมวกนิรภัยยังเพิ่มภาระให้แก่โรงพยาบาลที่รับตัวเข้ารักษา เป็นภาระแก่บุคคล ครอบครัว หรือผู้ดูแลและสังคม หากต้องกลายเป็นคนพิการสาเหตุการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนนในประเทศไทย 99 เปอร์เซ็น เกิดจากการไม่สวมหมวกนิรภัย โดยรายงานของสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน (ประเทศไทย) ยังเผยว่ามีเด็กไทยเพียง 7 เปอร์เซ็น เท่านั้นที่ไม่สวมหมวกนิรภัยระหว่างการเดินทาง ซึ่งอัตาการใช้หมวกนิรภัยที่น้อยนี่เอง สะท้อนให้เห็นถึงการรู้เท่าไม่ถึงการณ์ว่าภัยอันตรายรอบตัวนั้นสามารถเกิดขึ้นได้แบบไม่คาดฝัน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้เด็กนักเรียน ครูและผูัปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความปลอดภัยทางถนนและความสำคัญของการใส่หมวกนิรภัยให้กับเด็กเล็ก

1.ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการได้เข้าร่วมโครงการได้เข้่าร่วมกิจกรรมให้ความรู้การใส่หมวกนิรภัยและวินัยจราจร

2 2.สร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในการใส่หมวกนิรภัยและมีวินัยจราจรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

2.ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีวัฒนธรรมการขับขี่ปลอดภัยมีวินัยจราจร

3 3.เพื่อส่งเสริมนโยบายรัฐในการรณรงค์ให้พื้นที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็ฯพื้นที่ปลอดภัยทางท้องถนนด้วยการสวมหมวกนิรภัย 100 เปอร์เซ็น

3.พื้นที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็ฯพื้นที่ปลอดภัยทางถนนการสวมหมวกนิรภัย 100 เปอร์เซ็น

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 146 10,000.00 0 0.00
1 ก.พ. 67 - 30 ก.ย. 67 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ 73 9,000.00 -
1 ก.พ. 67 - 30 ก.ย. 67 กิจกรรมรณรงค์สร้างวัฒนธรรมการสวมหมวกนิรภัยทุกครั้งเมื่อขับขี่รถจักรยานยนต์ 73 1,000.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กเล็กมีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพของตนเองและการป้องกันไม่ให้เกิดอุบัติเหตุ 2.เด็กเล็ก ผู้ปกครอง ครู/ผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ความเข้าใจถึงประโยชน์และความจำเป็นของการสวมหมวกนิรภัยในการขับขี่ยานพาหนะบนท้องถนน และปฏิบัติได้ถูกต้อง ปลอดภัย
3.เด็กเล็ก ครู/ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วมร่วมรณรงค์การสร้างวัฒนธรรมการสวมหมวกนิรภัยทุกครั้งเมื่อขับขี่รถจักรยานยนต์ 4.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านโพธิ์ เป็นพื้นที่สวมหมวกนิรภัย 100 เปอร์เซ็นต์

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 ก.พ. 2567 13:57 น.