โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน ตำบลฝาละมี ประจำปี 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน ตำบลฝาละมี ประจำปี 2567 ”
ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายนิยม บุญเฟื่อง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฝาละมี
สิงหาคม 2567
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน ตำบลฝาละมี ประจำปี 2567
ที่อยู่ ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ L3338-02-10 เลขที่ข้อตกลง L3338-02-10
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน ตำบลฝาละมี ประจำปี 2567 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฝาละมี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน ตำบลฝาละมี ประจำปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด (3) เพื่อควบคุมอัตราป่วยไข้เลือดออกในชุมชนลดลง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ให้พร้อมเสมอ เช่น ทรายอะเบท น้ำยาพ่นหมอกควัน น้ำมันเชื้อเพลิง แผ่นพับเอกสาร (2) ประชาสัมพันธ์โครงการ (3) ให้ความรู้และหาแนวทางในการควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยหลัก 5 ป. แก่ประชาชนในชุมชนอย่างต่อเนื่อง (4) ตรวจประเมินบ้าน การตรวจลูกน้ำยุงลายและมอบรางวัลให้แก่บ้านที่จัดการควบุมโรคไข้เลือดออก
1.ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกิน 50 คนต่อแสนประชากร
2.ประชาชน/ภาคีเครือข่ายมีความรู้และตระหนักถึงปัญหาและร่วมแก้ เรื่องโรคไข้เลือดออก
3.ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
4.ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสมำ่เสมอ
5.ทำให้สามารถลดความชุกของลูกนำ้ยุงลาย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1)
ระยะช่วงเวลาการจัดโครงการในช่วงเดือนกรกฎาคม - กันยายน เป็นช่วงเวลา ฝนเริ่มตก ประชาชน ส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพทำสวนยาง ทำให้ประชาชนบ่าง
ส่วนไม่ตะหนักถึงการทำลายแหล่งเพราะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่นๆ (เพิ่มเติม)
1) ขอชื่นชมที่ กองทุน สปสช อบต.ฝาละมีจัดโครงการดีๆ แบบนี้ และขอให้ทําโครงการนี้ตลอดไปเพราะได้ประโยชน มาก
2) ควรอบรมให้ความรู้กับ ประชาชน อสม. ปีละครั้ง
3) ได้รับข้อมูลเรื่องโรคไข้เลือดออกอย่างละเอียดขึ้น
4) ขอสนับสนุนทรายเพื่อป้องกันและการระบาดของยุงลาย ขอสนับสนุนเครื่องพ่นยุงให้ รพ.สต. ในพื้นที่
และงบสนับสนุนในการศึกษาดูงานของ อสม. ระดับแกนนําหมู่บ้าน เพื่อพัฒนาศักยภาพของ อสม. และแลกเปลี่ยนเรียนรูเพื่อได้นํามาปรับปรุงใช้ในชุมชน
5) อยากให้ทาง อบต. อบจ. แจกทรายอะเบทให อสม. เพื่อใช้ในการออกสํารวจในชุมชน
6) ควรประชาสัมพันธ ตามหมู่บ้านใหคนในชุมชนได้รับความรู้เพิ่มเติม
7) ควรมีการฉีดพ่นเคมีควบคุมยุงลายบ่อยขึ้นในแต่ละเดือน และควรมีการเพิ่มการแจกทรายกําจัด
ลูกน้ํามากขึ้น
อยากใหทาง อบต. อบจ. สนับสนุนทรายกําจัดลูกน้ํายุงลายให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ของตำบล
โดยเฉพาะพื้นที่ที่มีการระบาดของโรค
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
- เพื่อควบคุมอัตราป่วยไข้เลือดออกในชุมชนลดลง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ให้พร้อมเสมอ เช่น ทรายอะเบท น้ำยาพ่นหมอกควัน น้ำมันเชื้อเพลิง แผ่นพับเอกสาร
- ประชาสัมพันธ์โครงการ
- ให้ความรู้และหาแนวทางในการควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยหลัก 5 ป. แก่ประชาชนในชุมชนอย่างต่อเนื่อง
- ตรวจประเมินบ้าน การตรวจลูกน้ำยุงลายและมอบรางวัลให้แก่บ้านที่จัดการควบุมโรคไข้เลือดออก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
250
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
300
กลุ่มวัยทำงาน
150
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.อัตราป่วยด้วยไข้เลือดออกในชุมชนลดลง
2. มีบ้านตัวอย่าง แหล่งเรียนรู้กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ
3. ประชาชนสุขภาพดีด้วยการจัดการสิ่งแวดล้อมในบ้านและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ตรวจประเมินบ้าน การตรวจลูกน้ำยุงลายและมอบรางวัลให้แก่บ้านที่จัดการควบุมโรคไข้เลือดออก
วันที่ 1 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมชี้แจง การป้องกันและควบคุมโรค แก่ อสม. ทุกหมู่บ้าน
มอบหมายภาระกิจ แบ่งเขตพื้นที่รับผิดชอบให้แก่ อสม.
จัดหา วัสดุ อุปกรณ์ ในการสำรวจ และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ ลูกน้ำยุงลาย เช่น ไฟฉาย แบบสำรวจ
อสม. ออกปฏิบัติงาน การสำรวจ และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ ลูกน้ำยุงลาย อย่างต่อเนื่อง ทุกสัปดาห์ๆ ละ ครั้ง
สรุป และรายงานผลการสำรวจ และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ ลูกน้ำยุงลาย แก่ผู้เกี่ยวข้องทราบ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชุมชี้แจง การป้องกันและควบคุมโรค แก่ อสม. จำนวน 250 คน ทุกหมู่บ้าน จำนวน 12 ครั้ง
มอบหมายภาระกิจ แบ่งเขตพื้นที่รับผิดชอบให้แก่ อสม. จำนวน 250 คน ทุกหมู่บ้าน จำนวน 12 ครั้ง
จัดหา วัสดุ อุปกรณ์ ในการสำรวจ และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ ลูกน้ำยุงลาย เช่น ไฟฉาย แบบสำรวจ
อสม. ออกปฏิบัติงาน การสำรวจ และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ ลูกน้ำยุงลาย อย่างต่อเนื่อง ทุกสัปดาห์ๆ ละ ครั้ง จำนวน 4 ครั้งต่อเดือน
สรุป และรายงานผลการสำรวจ และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ ลูกน้ำยุงลาย แก่ผู้เกี่ยวข้องทราบ
0
0
2. ให้ความรู้และหาแนวทางในการควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยหลัก 5 ป. แก่ประชาชนในชุมชนอย่างต่อเนื่อง
วันที่ 1 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมชี้แจง การป้องกันและควบคุมโรค แก่ อสม. ทุกหมู่บ้าน
มอบหมายภาระกิจ แบ่งเขตพื้นที่รับผิดชอบให้แก่ อสม.
อสม. ออกปฏิบัติงาน การสำรวจ และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ ลูกน้ำยุงลาย และให้คำแนะนำแก่ประชาชน อย่างต่อเนื่อง ทุกสัปดาห์ๆ ละ ครั้ง
สรุป และรายงานผลการสำรวจ และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ ลูกน้ำยุงลาย แก่ผู้เกี่ยวข้องทราบ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชุมชี้แจง การป้องกันและควบคุมโรค แก่ อสม. ทุก รพ.สต. จำนวน 5 รพ.สต.
มอบหมายภาระกิจ แบ่งเขตพื้นที่รับผิดชอบให้แก่ อสม. จำนวน 11 หมู่บ้าน
อสม. ออกปฏิบัติงาน การสำรวจ และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ ลูกน้ำยุงลาย และให้คำแนะนำแก่ประชาชน อย่างต่อเนื่อง ทุกสัปดาห์ๆ ละ ครั้ง จำนวน 11 หมู่บ้าน จำนวน 7500 หลังคาเรือน
ลดจำนวน ผู้ป้วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ โดยในปี 2567 มี ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ ตำบลฝาละมี จำนวน 30 คน อัตราป่วย 277.24 ต่อประชากรแสนคน
สรุป และรายงานผลการสำรวจ และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ ลูกน้ำยุงลาย แก่ผู้เกี่ยวข้องทราบ
0
0
3. ประชาสัมพันธ์โครงการ
วันที่ 1 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชาสัมพันธ์โครงการ และการป้ายความรู้ โครงการป้องกันและควบุมโรคไข้เลือดออกผ่านสื่อ และช่องทาง ต่างๆ เช่น
- เวที่ ประชุมหมู่บ้านประชุม อสม.
- หอกระจ่ายข่าว ของหมู่บ้าน
- แผ่นพับ เอกสาร ของหน่วยบริการ
- กลุ่มไลน์ เฟสบุ๊ค
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- เวที่ ประชุมหมู่บ้านประชุม อสม. จำนวน 11 หมู่บ้าน จำนวน 12 ครั้ง
- แผ่นพับ เอกสาร ของหน่วยบริการ จำนวน 5 รพ.สต.
- ประชาชน รับรู้และเกิดความตะหนักในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลืออก
0
0
4. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ให้พร้อมเสมอ เช่น ทรายอะเบท น้ำยาพ่นหมอกควัน น้ำมันเชื้อเพลิง แผ่นพับเอกสาร
วันที่ 15 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประสานงานกับผู้เกี่ยวข้อง
แต่งตั้งคณะกรรมการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ตามโครงการ
- กำหนดราคากลาง
- กำหนดคุณลักษณะ
- ตรวจรับพัสดุ
ติดต่อผู้ประกอบการจำหน่าย วัสดุ อุปกรณ์ และจัดทำใบเสนอราคา
จัดซื้อ วัสดุ อุปกรณ์ ตามโครงการ
แจก จ่าย วัสดุ อุปกรณ์ ให้กับหมู่บ้าน ชุมชน ต่างๆ
สรุปรายงานผลให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ดำเนินการจัดซื้อ วัสดุ อุปกรณ์ ในการควบคุมและป้องกันโรค ตามรายละเอียดโครงการ
- ทรายกำจัดลูกน้ำยุงลาย(ทรายอะเบท) จำนวน 13 ถัง x 4,000 บาท เป็นเงิน 52,000 บาท
- ค่าจัดซื้อสเปรย์กำจัดยุงลายจำนวน 100 กระป๋องกระป๋อง ละ 130 บาท เป็นเงิน 13,000 บาท
- แจกจ่ายวัสดุ เคมีภัณฑ์ การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก แก่ รพ.สต. จำนวน 5 แห่ง จำนวน 11 หมู่บ้าน
- ทุกชุมชน มีวัสดุ เคมีภัณฑ์ การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก เพี่ยงพอ
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ประชาชนในชุมชนให้ความร่วมมือในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายคิดเป็นร้อยละ 80
50.00
80.00
85.50
2
เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
ตัวชี้วัด : การแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด(ร้อยละ)
30.00
20.00
17.50
3
เพื่อควบคุมอัตราป่วยไข้เลือดออกในชุมชนลดลง
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยในชุมชนลดลง คิดเป็นร้อยละ 50
50.00
20.00
25.75
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
700
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
250
242
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
300
250
กลุ่มวัยทำงาน
150
275
กลุ่มผู้สูงอายุ
0
89
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด (3) เพื่อควบคุมอัตราป่วยไข้เลือดออกในชุมชนลดลง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ให้พร้อมเสมอ เช่น ทรายอะเบท น้ำยาพ่นหมอกควัน น้ำมันเชื้อเพลิง แผ่นพับเอกสาร (2) ประชาสัมพันธ์โครงการ (3) ให้ความรู้และหาแนวทางในการควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยหลัก 5 ป. แก่ประชาชนในชุมชนอย่างต่อเนื่อง (4) ตรวจประเมินบ้าน การตรวจลูกน้ำยุงลายและมอบรางวัลให้แก่บ้านที่จัดการควบุมโรคไข้เลือดออก
1.ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกิน 50 คนต่อแสนประชากร
2.ประชาชน/ภาคีเครือข่ายมีความรู้และตระหนักถึงปัญหาและร่วมแก้ เรื่องโรคไข้เลือดออก
3.ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
4.ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสมำ่เสมอ
5.ทำให้สามารถลดความชุกของลูกนำ้ยุงลาย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1)
ระยะช่วงเวลาการจัดโครงการในช่วงเดือนกรกฎาคม - กันยายน เป็นช่วงเวลา ฝนเริ่มตก ประชาชน ส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพทำสวนยาง ทำให้ประชาชนบ่าง
ส่วนไม่ตะหนักถึงการทำลายแหล่งเพราะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่นๆ (เพิ่มเติม)
1) ขอชื่นชมที่ กองทุน สปสช อบต.ฝาละมีจัดโครงการดีๆ แบบนี้ และขอให้ทําโครงการนี้ตลอดไปเพราะได้ประโยชน มาก
2) ควรอบรมให้ความรู้กับ ประชาชน อสม. ปีละครั้ง
3) ได้รับข้อมูลเรื่องโรคไข้เลือดออกอย่างละเอียดขึ้น
4) ขอสนับสนุนทรายเพื่อป้องกันและการระบาดของยุงลาย ขอสนับสนุนเครื่องพ่นยุงให้ รพ.สต. ในพื้นที่
และงบสนับสนุนในการศึกษาดูงานของ อสม. ระดับแกนนําหมู่บ้าน เพื่อพัฒนาศักยภาพของ อสม. และแลกเปลี่ยนเรียนรูเพื่อได้นํามาปรับปรุงใช้ในชุมชน
5) อยากให้ทาง อบต. อบจ. แจกทรายอะเบทให อสม. เพื่อใช้ในการออกสํารวจในชุมชน
6) ควรประชาสัมพันธ ตามหมู่บ้านใหคนในชุมชนได้รับความรู้เพิ่มเติม
7) ควรมีการฉีดพ่นเคมีควบคุมยุงลายบ่อยขึ้นในแต่ละเดือน และควรมีการเพิ่มการแจกทรายกําจัด
ลูกน้ํามากขึ้น
อยากใหทาง อบต. อบจ. สนับสนุนทรายกําจัดลูกน้ํายุงลายให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ของตำบล
โดยเฉพาะพื้นที่ที่มีการระบาดของโรค
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
- พื้นที่ตำบลฝาละมี มีจำนวนหมู่มาก ประชาชน เป็นจำนวนมาก ทำให้ การควบคุมและป้องกันโรค ต้องใช้งบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ ไม่เพียง
- ประชาชน บางส่วน ยังไม่ให้ความร่วมมือ ในการกำจัดขยะ และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
- การควบคุมโรคในสถานการณ์การระบาดของโรคยังขาดประสิทธิภาพ
- มีจำนวนหมู่บ้าน ประชากรมาก
- ขาดเครื่องพ่นหมอกควัน เครื่องพ่นละออองฝอย ในตำบล
สนับสนุนงบประมาณ ในการจัดซื้อเคมีภัณฑ์ และเครื่องพ่นหมอกควัน เครื่องพ่นละองฝอย
- การรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ อย่างต่อเนื่อง
โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน ตำบลฝาละมี ประจำปี 2567 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ L3338-02-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายนิยม บุญเฟื่อง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน ตำบลฝาละมี ประจำปี 2567 ”
ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายนิยม บุญเฟื่อง
สิงหาคม 2567
ที่อยู่ ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ L3338-02-10 เลขที่ข้อตกลง L3338-02-10
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน ตำบลฝาละมี ประจำปี 2567 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฝาละมี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน ตำบลฝาละมี ประจำปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด (3) เพื่อควบคุมอัตราป่วยไข้เลือดออกในชุมชนลดลง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ให้พร้อมเสมอ เช่น ทรายอะเบท น้ำยาพ่นหมอกควัน น้ำมันเชื้อเพลิง แผ่นพับเอกสาร (2) ประชาสัมพันธ์โครงการ (3) ให้ความรู้และหาแนวทางในการควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยหลัก 5 ป. แก่ประชาชนในชุมชนอย่างต่อเนื่อง (4) ตรวจประเมินบ้าน การตรวจลูกน้ำยุงลายและมอบรางวัลให้แก่บ้านที่จัดการควบุมโรคไข้เลือดออก 1.ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกิน 50 คนต่อแสนประชากร 2.ประชาชน/ภาคีเครือข่ายมีความรู้และตระหนักถึงปัญหาและร่วมแก้ เรื่องโรคไข้เลือดออก 3.ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก 4.ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสมำ่เสมอ 5.ทำให้สามารถลดความชุกของลูกนำ้ยุงลาย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1)
ระยะช่วงเวลาการจัดโครงการในช่วงเดือนกรกฎาคม - กันยายน เป็นช่วงเวลา ฝนเริ่มตก ประชาชน ส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพทำสวนยาง ทำให้ประชาชนบ่าง
ส่วนไม่ตะหนักถึงการทำลายแหล่งเพราะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่นๆ (เพิ่มเติม)
1) ขอชื่นชมที่ กองทุน สปสช อบต.ฝาละมีจัดโครงการดีๆ แบบนี้ และขอให้ทําโครงการนี้ตลอดไปเพราะได้ประโยชน มาก
2) ควรอบรมให้ความรู้กับ ประชาชน อสม. ปีละครั้ง
3) ได้รับข้อมูลเรื่องโรคไข้เลือดออกอย่างละเอียดขึ้น
4) ขอสนับสนุนทรายเพื่อป้องกันและการระบาดของยุงลาย ขอสนับสนุนเครื่องพ่นยุงให้ รพ.สต. ในพื้นที่
และงบสนับสนุนในการศึกษาดูงานของ อสม. ระดับแกนนําหมู่บ้าน เพื่อพัฒนาศักยภาพของ อสม. และแลกเปลี่ยนเรียนรูเพื่อได้นํามาปรับปรุงใช้ในชุมชน
5) อยากให้ทาง อบต. อบจ. แจกทรายอะเบทให อสม. เพื่อใช้ในการออกสํารวจในชุมชน
6) ควรประชาสัมพันธ ตามหมู่บ้านใหคนในชุมชนได้รับความรู้เพิ่มเติม
7) ควรมีการฉีดพ่นเคมีควบคุมยุงลายบ่อยขึ้นในแต่ละเดือน และควรมีการเพิ่มการแจกทรายกําจัด
ลูกน้ํามากขึ้น
อยากใหทาง อบต. อบจ. สนับสนุนทรายกําจัดลูกน้ํายุงลายให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ของตำบล
โดยเฉพาะพื้นที่ที่มีการระบาดของโรค
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
- เพื่อควบคุมอัตราป่วยไข้เลือดออกในชุมชนลดลง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ให้พร้อมเสมอ เช่น ทรายอะเบท น้ำยาพ่นหมอกควัน น้ำมันเชื้อเพลิง แผ่นพับเอกสาร
- ประชาสัมพันธ์โครงการ
- ให้ความรู้และหาแนวทางในการควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยหลัก 5 ป. แก่ประชาชนในชุมชนอย่างต่อเนื่อง
- ตรวจประเมินบ้าน การตรวจลูกน้ำยุงลายและมอบรางวัลให้แก่บ้านที่จัดการควบุมโรคไข้เลือดออก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 250 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 300 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 150 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.อัตราป่วยด้วยไข้เลือดออกในชุมชนลดลง 2. มีบ้านตัวอย่าง แหล่งเรียนรู้กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ 3. ประชาชนสุขภาพดีด้วยการจัดการสิ่งแวดล้อมในบ้านและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ตรวจประเมินบ้าน การตรวจลูกน้ำยุงลายและมอบรางวัลให้แก่บ้านที่จัดการควบุมโรคไข้เลือดออก |
||
วันที่ 1 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุมชี้แจง การป้องกันและควบคุมโรค แก่ อสม. ทุกหมู่บ้าน มอบหมายภาระกิจ แบ่งเขตพื้นที่รับผิดชอบให้แก่ อสม. จัดหา วัสดุ อุปกรณ์ ในการสำรวจ และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ ลูกน้ำยุงลาย เช่น ไฟฉาย แบบสำรวจ อสม. ออกปฏิบัติงาน การสำรวจ และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ ลูกน้ำยุงลาย อย่างต่อเนื่อง ทุกสัปดาห์ๆ ละ ครั้ง สรุป และรายงานผลการสำรวจ และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ ลูกน้ำยุงลาย แก่ผู้เกี่ยวข้องทราบ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชุมชี้แจง การป้องกันและควบคุมโรค แก่ อสม. จำนวน 250 คน ทุกหมู่บ้าน จำนวน 12 ครั้ง
มอบหมายภาระกิจ แบ่งเขตพื้นที่รับผิดชอบให้แก่ อสม. จำนวน 250 คน ทุกหมู่บ้าน จำนวน 12 ครั้ง สรุป และรายงานผลการสำรวจ และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ ลูกน้ำยุงลาย แก่ผู้เกี่ยวข้องทราบ
|
0 | 0 |
2. ให้ความรู้และหาแนวทางในการควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยหลัก 5 ป. แก่ประชาชนในชุมชนอย่างต่อเนื่อง |
||
วันที่ 1 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุมชี้แจง การป้องกันและควบคุมโรค แก่ อสม. ทุกหมู่บ้าน มอบหมายภาระกิจ แบ่งเขตพื้นที่รับผิดชอบให้แก่ อสม. อสม. ออกปฏิบัติงาน การสำรวจ และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ ลูกน้ำยุงลาย และให้คำแนะนำแก่ประชาชน อย่างต่อเนื่อง ทุกสัปดาห์ๆ ละ ครั้ง สรุป และรายงานผลการสำรวจ และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ ลูกน้ำยุงลาย แก่ผู้เกี่ยวข้องทราบ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชุมชี้แจง การป้องกันและควบคุมโรค แก่ อสม. ทุก รพ.สต. จำนวน 5 รพ.สต. มอบหมายภาระกิจ แบ่งเขตพื้นที่รับผิดชอบให้แก่ อสม. จำนวน 11 หมู่บ้าน อสม. ออกปฏิบัติงาน การสำรวจ และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ ลูกน้ำยุงลาย และให้คำแนะนำแก่ประชาชน อย่างต่อเนื่อง ทุกสัปดาห์ๆ ละ ครั้ง จำนวน 11 หมู่บ้าน จำนวน 7500 หลังคาเรือน ลดจำนวน ผู้ป้วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ โดยในปี 2567 มี ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ ตำบลฝาละมี จำนวน 30 คน อัตราป่วย 277.24 ต่อประชากรแสนคน สรุป และรายงานผลการสำรวจ และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ ลูกน้ำยุงลาย แก่ผู้เกี่ยวข้องทราบ
|
0 | 0 |
3. ประชาสัมพันธ์โครงการ |
||
วันที่ 1 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประชาสัมพันธ์โครงการ และการป้ายความรู้ โครงการป้องกันและควบุมโรคไข้เลือดออกผ่านสื่อ และช่องทาง ต่างๆ เช่น
- เวที่ ประชุมหมู่บ้านประชุม อสม.
- หอกระจ่ายข่าว ของหมู่บ้าน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
4. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ให้พร้อมเสมอ เช่น ทรายอะเบท น้ำยาพ่นหมอกควัน น้ำมันเชื้อเพลิง แผ่นพับเอกสาร |
||
วันที่ 15 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประสานงานกับผู้เกี่ยวข้อง
แต่งตั้งคณะกรรมการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ตามโครงการ
- กำหนดราคากลาง
- กำหนดคุณลักษณะ
- ตรวจรับพัสดุ
ติดต่อผู้ประกอบการจำหน่าย วัสดุ อุปกรณ์ และจัดทำใบเสนอราคา
จัดซื้อ วัสดุ อุปกรณ์ ตามโครงการ
แจก จ่าย วัสดุ อุปกรณ์ ให้กับหมู่บ้าน ชุมชน ต่างๆ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน ตัวชี้วัด : ประชาชนในชุมชนให้ความร่วมมือในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายคิดเป็นร้อยละ 80 |
50.00 | 80.00 | 85.50 |
|
2 | เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด ตัวชี้วัด : การแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด(ร้อยละ) |
30.00 | 20.00 | 17.50 |
|
3 | เพื่อควบคุมอัตราป่วยไข้เลือดออกในชุมชนลดลง ตัวชี้วัด : อัตราป่วยในชุมชนลดลง คิดเป็นร้อยละ 50 |
50.00 | 20.00 | 25.75 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 700 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 250 | 242 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 300 | 250 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 150 | 275 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 0 | 89 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 0 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด (3) เพื่อควบคุมอัตราป่วยไข้เลือดออกในชุมชนลดลง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ให้พร้อมเสมอ เช่น ทรายอะเบท น้ำยาพ่นหมอกควัน น้ำมันเชื้อเพลิง แผ่นพับเอกสาร (2) ประชาสัมพันธ์โครงการ (3) ให้ความรู้และหาแนวทางในการควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยหลัก 5 ป. แก่ประชาชนในชุมชนอย่างต่อเนื่อง (4) ตรวจประเมินบ้าน การตรวจลูกน้ำยุงลายและมอบรางวัลให้แก่บ้านที่จัดการควบุมโรคไข้เลือดออก 1.ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกิน 50 คนต่อแสนประชากร 2.ประชาชน/ภาคีเครือข่ายมีความรู้และตระหนักถึงปัญหาและร่วมแก้ เรื่องโรคไข้เลือดออก 3.ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก 4.ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสมำ่เสมอ 5.ทำให้สามารถลดความชุกของลูกนำ้ยุงลาย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1)
ระยะช่วงเวลาการจัดโครงการในช่วงเดือนกรกฎาคม - กันยายน เป็นช่วงเวลา ฝนเริ่มตก ประชาชน ส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพทำสวนยาง ทำให้ประชาชนบ่าง
ส่วนไม่ตะหนักถึงการทำลายแหล่งเพราะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่นๆ (เพิ่มเติม)
1) ขอชื่นชมที่ กองทุน สปสช อบต.ฝาละมีจัดโครงการดีๆ แบบนี้ และขอให้ทําโครงการนี้ตลอดไปเพราะได้ประโยชน มาก
2) ควรอบรมให้ความรู้กับ ประชาชน อสม. ปีละครั้ง
3) ได้รับข้อมูลเรื่องโรคไข้เลือดออกอย่างละเอียดขึ้น
4) ขอสนับสนุนทรายเพื่อป้องกันและการระบาดของยุงลาย ขอสนับสนุนเครื่องพ่นยุงให้ รพ.สต. ในพื้นที่
และงบสนับสนุนในการศึกษาดูงานของ อสม. ระดับแกนนําหมู่บ้าน เพื่อพัฒนาศักยภาพของ อสม. และแลกเปลี่ยนเรียนรูเพื่อได้นํามาปรับปรุงใช้ในชุมชน
5) อยากให้ทาง อบต. อบจ. แจกทรายอะเบทให อสม. เพื่อใช้ในการออกสํารวจในชุมชน
6) ควรประชาสัมพันธ ตามหมู่บ้านใหคนในชุมชนได้รับความรู้เพิ่มเติม
7) ควรมีการฉีดพ่นเคมีควบคุมยุงลายบ่อยขึ้นในแต่ละเดือน และควรมีการเพิ่มการแจกทรายกําจัด
ลูกน้ํามากขึ้น
อยากใหทาง อบต. อบจ. สนับสนุนทรายกําจัดลูกน้ํายุงลายให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ของตำบล
โดยเฉพาะพื้นที่ที่มีการระบาดของโรค
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
สนับสนุนงบประมาณ ในการจัดซื้อเคมีภัณฑ์ และเครื่องพ่นหมอกควัน เครื่องพ่นละองฝอย - การรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ อย่างต่อเนื่อง |
โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน ตำบลฝาละมี ประจำปี 2567 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ L3338-02-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายนิยม บุญเฟื่อง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......