กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้อย


“ โครงการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิต ”

ตำบลบ้านน้อย อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

หัวหน้าโครงการ
นางณัฏฐา ขุนทวี

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิต

ที่อยู่ ตำบลบ้านน้อย อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 ธันวาคม 2566 ถึง 15 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิต จังหวัดพิจิตร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านน้อย อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้อย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิต



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิต " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านน้อย อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 ธันวาคม 2566 - 15 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้อย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม ส่งผลให้วิถีชีวิตประชากรไทย เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ประกอบกับความเจริญก้าวหน้าทางด้านการแพทย์และสาธารณสุข ทำให้รูปแบบการเจ็บป่วยเปลี่ยนจากโรคติดต่อเป็นโรคไม่ติดต่อเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ที่พบมากที่สุดคือ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปัจจัยที่เชื่อว่าเป็นสาเหตุหลักของโรคเรื้อรัง คือ พฤติกรรมในการดำเนินชีวิตของบุคคลขาดความสมดุล เช่น การรับประทานอาหารไขมันสูง อาหารหวานจัด เค็มจัด มากเกินกว่าสัดส่วนที่ร่างกายควรได้รับใน 1 วัน ไม่รับประทานผักผลไม้ ไม่ออกกำลังกาย การใช้ชีวิตสะดวกสบายเกินไป ไม่ค่อยมีกิจกรรมทางกาย การสูบบุหรี่ ดื่มแอลกอฮอล์ เป็นต้น โดยอาการและอาการแสดงของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเกิดขึ้นได้ช้า เนื่องจากมีระยะการดำเนินโรคที่ยาวนาน การก่อตัวของโรค จึงเกิดขึ้นทีละน้อย และมักเกิดในวัยผู้ใหญ่โดยเฉพาะอายุ 40 ปีขึ้นไป เมื่อประชาชนเกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคดังกล่าว การรักษาให้หายขาดเป็นไปได้ยาก และเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนหรือความพิการได้ง่าย ซึ่งปัญหาของโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงนอกจากจะทำให้สูญเสียสภาพทางด้านร่างกาย จิตใจ ค่าใช้จ่าย และระยะเวลาในการรักษาที่ยาวนานยังสามารถส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจสังคม และความมั่นคงของชาติอีกด้วย ระบบสุขภาพของประเทศไทยในปัจจุบัน จึงมีนโยบายในการสร้างสุขภาพนำซ่อมเพื่อแก้ปัญหา โรคเรื้อรังโดยเน้นการคัดกรองสุขภาพเพื่อให้สามารถค้นหาประชากรกลุ่มเสี่ยงได้คลอบคลุม นำไปสู่การกำหนดรูปแบบกิจกรรม เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่ และสามารถค้นหาประชากรกลุ่มสงสัยรายใหม่ได้อย่างรวดเร็ว ทำให้กลุ่มสงสัยรายใหม่ได้รับการวินิจฉัยโรค และรักษาจากแพทย์ตามเกณฑ์ ได้อย่างทันท่วงทีเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากโรคและการลดอัตราการตายที่อาจเกิดขึ้น จากสถานการณ์การคัดกรองความเสี่ยงโรคเรื้อรังของตำบลบ้านน้อย ปีงบประมาณ 2562 -2564 พบว่า มีอัตราป่วยเบาหวานรายใหม่จาก กลุ่มเสี่ยงเบาหวานร้อยละ 0.67, 0.89 และ 2.63 ตามลำดับ อัตราป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จาก โรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 2.48 , 4.72 และ 3.61ตามลำดับ ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น อีกทั้งปัญหาระหว่างการคัดกรอง พบว่า มีผู้ป่วยบางกลุ่มไม่ได้รับการคัดกรองโรคเรื้อรังในปีที่ผ่านๆ มา โดยมีสาเหตุที่แตกต่างกัน เช่น บางรายไม่ทราบว่ามีการคัดกรองโรคเรื้อรัง บางรายไม่สมัครใจเข้ารับการคัดกรองเนื่องจากไม่มีอาการผิดปกติบางรายไม่เห็นถึงความสำคัญของการคัดกรองบางรายอยู่นอกพื้นที่ในช่วงที่มีคัดกรอง ทำให้พลาดโอกาสในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และมาค้นพบในระยะปรากฏอาการหรือระยะที่เป็นกลุ่มป่วยไปแล้ว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านน้อย ได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงจัดทำโครงการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตขึ้น เพื่อให้เกิดการคัดกรองโรคเรื้อรังที่มีประสิทธิภาพและครอบคลุม นำไปสู่การกำหนดรูปแบบกิจกรรมในการดูแลสุขภาพตนเองของกลุ่มเสี่ยง เพื่อลดอัตราป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคทางเมตาบอลิคอย่างน้อยร้อยละ90
  2. 2. เพื่อค้นหาผู้ป่วยเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่
  3. 3.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มสงสัยรายใหม่ ได้รับการวินิจฉัยและรักษาจากแพทย์ตามเกณฑ์มาตรฐาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1 คัดกรองความเสี่ยงโรคเรื้อรังด้วยวาจาและตรวจสุขภาพเบื้องต้น ได้แก่ ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต ในกลุ่มประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป โดยเจ้าหน้าที่ และ อสม.
  2. ดำเนินการเจาะน้ำตาลปลายนิ้วในกลุ่มประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่ไม่ได้ป่วยเป็นโรคเบาหวานโดยเจ้าหน้าที่และ อสม.
  3. จำแนกผลการคัดกรองสุขภาพ โดยแบ่งเป็นกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มสงสัยรายใหม่
  4. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง
  5. ตรวจซ้ำผู้ที่มีระดับความดันโลหิตมากกว่า 140/90 มิลลิเมตรปรอทและระดับน้ำตาล ในเลือดมากกว่า 100 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีในเขตตำบลบ้านน้อยได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานแความดันโลหิตสูง อย่างมีประสิทธิภาพและรับทราบสถานสุขภาพของตนเอง
  2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีในเขตตำบลบ้านน้อยที่มีผลการคัดกรองที่ผิดปกติได้รับการวินิจฉัยและการรักษาที่ถูกต้อง 3.สามารถค้นหาผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ได้อย่างครอบคลุมและส่งต่อเพื่อได้รับการวินิจฉัยและรักษาจากแพทย์ได้อย่างทันท่วงที
  3. อุบัติการณ์หรือความชุกของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคทางเมตาบอลิคอย่างน้อยร้อยละ90
ตัวชี้วัด :
0.00 0.00

 

2 2. เพื่อค้นหาผู้ป่วยเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มสงสัยรายใหม่ ได้รับการวินิจฉัยและรักษาจากแพทย์ตามเกณฑ์มาตรฐาน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1500
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคทางเมตาบอลิคอย่างน้อยร้อยละ90 (2) 2. เพื่อค้นหาผู้ป่วยเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ (3) 3.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มสงสัยรายใหม่ ได้รับการวินิจฉัยและรักษาจากแพทย์ตามเกณฑ์มาตรฐาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1 คัดกรองความเสี่ยงโรคเรื้อรังด้วยวาจาและตรวจสุขภาพเบื้องต้น ได้แก่ ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต ในกลุ่มประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป โดยเจ้าหน้าที่ และ อสม. (2) ดำเนินการเจาะน้ำตาลปลายนิ้วในกลุ่มประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่ไม่ได้ป่วยเป็นโรคเบาหวานโดยเจ้าหน้าที่และ อสม. (3) จำแนกผลการคัดกรองสุขภาพ โดยแบ่งเป็นกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มสงสัยรายใหม่ (4) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง (5) ตรวจซ้ำผู้ที่มีระดับความดันโลหิตมากกว่า 140/90 มิลลิเมตรปรอทและระดับน้ำตาล ในเลือดมากกว่า 100 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิต จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางณัฏฐา ขุนทวี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด