กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน


“ โครงการแม่ลูกสุขภาพดี ภายใต้รูปแบบนโยบายโครงการ มหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน ”

ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายประชา หนูหมาด

ชื่อโครงการ โครงการแม่ลูกสุขภาพดี ภายใต้รูปแบบนโยบายโครงการ มหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน

ที่อยู่ ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5295-1-01 เลขที่ข้อตกลง 1/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแม่ลูกสุขภาพดี ภายใต้รูปแบบนโยบายโครงการ มหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแม่ลูกสุขภาพดี ภายใต้รูปแบบนโยบายโครงการ มหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแม่ลูกสุขภาพดี ภายใต้รูปแบบนโยบายโครงการ มหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 67-L5295-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,030.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาประเทศให้มีการเจริญเติบโตแข็งแกร่งยั่งยืนในทุกด้านประการสำคัญ มุ่งเน้นการพัฒนาคนเป็นหลักเพื่อให้ได้คุณภาพชีวิตที่ดีอย่างมีศักยภาพจะต้องเริ่มต้นตั้งแต่ปฏิสนธิในครรภ์ เพราะเด็กเป็นรากฐานที่สำคัญในการพัฒนาให้เป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต โดยมารดาและเด็กจะได้รับการดูแลและส่งเสริมสุขภาพตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด หลังคลอด เมื่อเกิดแล้วต้องได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสมเพื่อให้เติบโตสมวัยและเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพต่อไปในอนาคต โดยเฉพาะในระยะ 2 ปีแรกของชีวิต เป็นระยะที่ร่างกายและสมองมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว จำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุดเพื่อส่งเสริมพัฒนาการรอบด้าน อาหารและภาวะโภชนาการที่ดีปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของเด็กวัยก่อนวัยเรียน ปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ ได้แก่ ภาวการณ์เจริญเติบโตไม่สมวัยจากโรคขาดสารอาหาร ภาวะโภชนาการเกิน การขาดสารไอโอดีน ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก โดยมีสาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ลดลง การให้อาหารตามวัยแก่เด็กเร็วเกินไปและไม่ถูกต้อง ซึ่งจุดเริ่มต้นที่สำคัญคือการที่หญิงตั้งครรภ์มารับบริการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ เพื่อสามารถให้การดูแลหญิงตั้งครรภ์ได้ตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ในไตรมาสแรก ช่วยในการค้นหาหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงหรือมีภาวะแทรกซ้อนต่างๆให้ได้รับการดูแลอย่างเหมาะสม และมีคุณภาพเกิดความปลอดภัยทั้งมารดาและทารกในครรภ์ อันตรายจากการตั้งครรภ์และการคลอดลูกจะลดลงได้เมื่อผู้หญิงมีสุขภาพแข็งแรงและมีภาวะโภชนาการดีตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์ มีการตั้งครรภ์เมื่อพร้อม การส่งเสริมสุขภาพสตรีตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัยเป็นจุดเริ่มต้นแห่งการพัฒนาคุณภาพประชากรที่เริ่มตั้งแต่อยู่ในครรภ์ เพื่อการตั้งครรภ์และการคลอดเป็นไปด้วยความราบรื่นมารดาและทารกปลอดภัย ดังนั้น งานส่งเสริมสุขภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งดินลุ่ม ได้เล็งเห็นความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิตของแม่และเด็กอันส่งผลให้เด็กเกิดมามีสุขภาพอนามัยสมบูรณ์และเติบโตไปเป็นประชากรที่มีคุณภาพของประเทศในอนาคต จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์
  2. เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
  3. เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์
  4. เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน
  5. เด็กปฐมวัยได้รับการตรวจฟันและได้รับการฝึกแปรงฟันอย่างถูกวิธีโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
  6. เด็กปฐมวัยปีสูงดีสมส่วน มีพัฒนาการสมวัย
  7. หญิงตั้งครรภ์และสามีมีความรู้ในการดูแลการตั้งครรภ์และการปฏิบัติตัวหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้
  2. พาเยี่ยมชมห้องคลอด ห้องหลังคลอด และคลินิกนมแม่ รพ.ทุ่งหว้า
  3. เยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์เสี่ยง หญิงหลังคลอดและทารกแรกเกิดพร้อมทีมอสม.
  4. อบรมให้ความรู้โรงเรียนพ่อแม่แก่หญิงตั้งครรภ์และญาติ
  5. เยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์เสี่ยง หญิงหลังคลอดและทารกแรกเกิดพร้อมทีมอสม.
  6. อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย
  7. พาเยี่ยมชมห้องคลอด ห้องหลังคลอด และคลินิกนมแม่ รพ.ทุ่งหว้า

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 35
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 35
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.หญิงตั้งครรภ์มีการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ คิดเป็นจำนวน ร้อยละ 80 2.ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์คุณภาพครบ 8 ครั้งตามเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3.อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม (Low Birth Weight) ไม่เกินร้อยละ 7 4.ร้อยละ 85 ของเด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัย
5.ร้อยละของเด็กปฐมวัย สูงดีสมส่วนร้อยละ 64 6.ร้อยละของเด็กแรกเกิด-ต่ำกว่า 6 เดือนกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า ร้อยละ 60 7.ร้อยละ100 หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด และผู้ปกครอง มีความรู้ในการดูแลทารก 8.หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดได้รับการติดตามดูแล โดยเยี่ยมหลังคลอด 3 ครั้ง และได้รับคำแนะนำในการเลี้ยงดูบุตรด้วยนมแม่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงวัยเจริญพันธุ์ ที่มีภาวะซีด ลดลง
17.65 14.00

 

2 เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (เพิ่มขึ้น)
88.24 90.00

 

3 เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงคลอด ที่ได้รับการตรวจและเยี่ยมหลังคลอดเพิ่มขึ้น
100.00 100.00

 

4 เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของแม่ ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นระยะเวลา 6 เดือน เพิ่มขึ้น
81.25 85.00

 

5 เด็กปฐมวัยได้รับการตรวจฟันและได้รับการฝึกแปรงฟันอย่างถูกวิธีโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
ตัวชี้วัด : เด็ก0-5 ปี ได้รับการตรวจฟันและได้รับการฝึกแปรงฟันอย่างถูกวิธีโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ร้อยละ 95
95.00

 

6 เด็กปฐมวัยปีสูงดีสมส่วน มีพัฒนาการสมวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 85 ของเด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัย และสูงดีสมส่วนร้อยละ 62
85.00

 

7 หญิงตั้งครรภ์และสามีมีความรู้ในการดูแลการตั้งครรภ์และการปฏิบัติตัวหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด และผู้ดูแลมีความรู้ในการดูแลทารก หญิงตั้งครรภ์ ร้อยละ 90
90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 35
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 35
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์ (2) เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (3) เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์ (4) เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน (5) เด็กปฐมวัยได้รับการตรวจฟันและได้รับการฝึกแปรงฟันอย่างถูกวิธีโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข (6) เด็กปฐมวัยปีสูงดีสมส่วน มีพัฒนาการสมวัย (7) หญิงตั้งครรภ์และสามีมีความรู้ในการดูแลการตั้งครรภ์และการปฏิบัติตัวหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) พาเยี่ยมชมห้องคลอด ห้องหลังคลอด และคลินิกนมแม่ รพ.ทุ่งหว้า (3) เยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์เสี่ยง หญิงหลังคลอดและทารกแรกเกิดพร้อมทีมอสม. (4) อบรมให้ความรู้โรงเรียนพ่อแม่แก่หญิงตั้งครรภ์และญาติ (5) เยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์เสี่ยง หญิงหลังคลอดและทารกแรกเกิดพร้อมทีมอสม. (6) อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย (7) พาเยี่ยมชมห้องคลอด ห้องหลังคลอด และคลินิกนมแม่ รพ.ทุ่งหว้า

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการแม่ลูกสุขภาพดี ภายใต้รูปแบบนโยบายโครงการ มหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5295-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประชา หนูหมาด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด