กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อลดคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ (มากกว่า 5 วันต่อสัปดาห์)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัดเป็นประจำ (มากกว่า 5 วันต่อสัปดาห์)
50.00 30.00

 

 

 

2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานลดลง
50.00 25.00

 

 

 

3 เพื่อลดภาวะน้ำหนักเกิน อ้วนระดับ 1 และอ้วนระดับ 2 ของประชากร (อายุมากกว่า 18 ปี)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชากร อายุ 18 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน อ้วนระดับ 1 และอ้วนระดับ 2
70.00 60.00

 

 

 

4 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงลดลง
50.00 20.00

 

 

 

5 ๑.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ในการบริโภคอาหารตามช่วงวัย ๒.เพื่อเป็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดการบริโภคอาหารรสหวาน รสมัน รสเค็ม ๓.เพื่อลดอัตราการป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ๔.เพื่อสร้างเครือข่ายในการทำงานประชากรกลุ่มตัวอย่างการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดหวานมันเค็ม
ตัวชี้วัด : ๑.ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ในการบริโภคอาหาร ๒.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการลดการบริโภคอาหารรสหวาน รสมัน รสเค็ม ๓.ลดอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ๔.มีเครือข่ายในการทำงานประชากรกลุ่มตัวอย่างในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินลดหวานมันเค็ม
0.00 0.00