กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ (มากกว่า 5 วันต่อสัปดาห์)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัดเป็นประจำ (มากกว่า 5 วันต่อสัปดาห์)
50.00 30.00

 

2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานลดลง
50.00 25.00

 

3 เพื่อลดภาวะน้ำหนักเกิน อ้วนระดับ 1 และอ้วนระดับ 2 ของประชากร (อายุมากกว่า 18 ปี)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชากร อายุ 18 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน อ้วนระดับ 1 และอ้วนระดับ 2
70.00 60.00

 

4 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงลดลง
50.00 20.00

 

5 ๑.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ในการบริโภคอาหารตามช่วงวัย ๒.เพื่อเป็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดการบริโภคอาหารรสหวาน รสมัน รสเค็ม ๓.เพื่อลดอัตราการป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ๔.เพื่อสร้างเครือข่ายในการทำงานประชากรกลุ่มตัวอย่างการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดหวานมันเค็ม
ตัวชี้วัด : ๑.ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ในการบริโภคอาหาร ๒.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการลดการบริโภคอาหารรสหวาน รสมัน รสเค็ม ๓.ลดอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ๔.มีเครือข่ายในการทำงานประชากรกลุ่มตัวอย่างในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินลดหวานมันเค็ม
0.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 75
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 25
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 25
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 25
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ (มากกว่า 5 วันต่อสัปดาห์) (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (3) เพื่อลดภาวะน้ำหนักเกิน อ้วนระดับ 1 และอ้วนระดับ 2 ของประชากร (อายุมากกว่า 18 ปี) (4) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (5) ๑.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ในการบริโภคอาหารตามช่วงวัย ๒.เพื่อเป็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดการบริโภคอาหารรสหวาน รสมัน รสเค็ม ๓.เพื่อลดอัตราการป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง    ๔.เพื่อสร้างเครือข่ายในการทำงานประชากรกลุ่มตัวอย่างการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดหวานมันเค็ม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดหวาน ลดมัน ลดเค็ม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh