กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน


“ มารดาและเด็กสุขภาพดี ด้วยตำบลมหัศจรรย์1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน ”

ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางวทันยา เทพสิงหรณ์

ชื่อโครงการ มารดาและเด็กสุขภาพดี ด้วยตำบลมหัศจรรย์1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน

ที่อยู่ ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5295-1-05 เลขที่ข้อตกลง 5/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"มารดาและเด็กสุขภาพดี ด้วยตำบลมหัศจรรย์1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
มารดาและเด็กสุขภาพดี ด้วยตำบลมหัศจรรย์1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน



บทคัดย่อ

โครงการ " มารดาและเด็กสุขภาพดี ด้วยตำบลมหัศจรรย์1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 67-L5295-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ขับเคลื่อนงานมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 - 2564 มีแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงาน โดยเน้นการพัฒนาคุณภาพบริการในคลินิกฝากครรภ์ (ANC) คลินิกเด็กสุขภาพดี (WCC) ให้ความสำคัญกับชุมชน ท้องถิ่น และภาคีเครือข่ายการร่วมลงทุนเป็นเจ้าของ ในการขับเคลื่อนงานโดยใช้กลไกระดับพื้นที่และดำเนินการครบถ้วนทุกกิจกรรมสำคัญ (กิน กอด เล่น เล่า นอน เฝ้าดูฟัน) ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายทุกคน ได้แก่ หญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร และเด็กอายุ 0 - 2 ปี และในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ได้ขับเคลื่อนการดำเนินงานผ่านภาคีเครือข่ายบันทึกข้อตกลงการบูรณาการความร่วมมือ การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต กลุ่มเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2565 – 2569 (MOU 6 กระทรวง) ส่งเสริมสุขภาพสตรีและเด็กในช่วง 1,000 วันแรก ของชีวิต ต่อเนื่องไปจนถึงเด็กอายุ 5 ปี ผ่านกลไกตำบลมหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน ซึ่งเป็นกลไก ที่เกิดจากความร่วมมือภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ในการดูแล ส่งเสริมสุขภาพ และคุ้มครองสตรีและเด็กปฐมวัย ตั้งแต่ปฏิสนธิในครรภ์มารดา จนถึงเด็กอายุ 5 ปี รวมถึงการส่งเสริมให้หญิงวัยเจริญพันธุ์มีความพร้อมตั้งแต่ระยะ ก่อนตั้งครรภ์ ที่เป็นจุดเริ่มต้นสำคัญของการส่งเสริมให้การตั้งครรภ์มีคุณภาพ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย และเด็กปฐมวัยเติบโตเต็มศักยภาพ มีคุณภาพชีวิตที่ดี ผ่านกลไกความร่วมมือและการมีส่วนร่วม ของภาคีเครือข่ายในชุมชนและท้องถิ่น ระดับตำบล         ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเขาแดงจึงได้ทำโครงการ มารดาและเด็กสุขภาพดี    ด้วยตำบลมหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน ขึ้นโดยให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาในทุกกลุ่มเป้าหมาย เพื่อให้เกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน และส่งผลให้หญิงวัยเจริญพันธ์ หญิงตั้งครรภ์และเด็กมีสภาวะสุขภาพที่ดีในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. . มีการค้นหา หญิงตั้งครรภ์ ให้มาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ และหญิงตั้งครรภ์ ทุกคนได้รับสมุดบันทึก สุขภาพแม่และเด็ก เมื่อมาฝากครรภ์ ครั้งแรก
  2. เพื่อเฝ้าระวังส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์มีสุขภาพแข็งแรงปลอดภัยจากการตั้งครรภ์และการคลอด
  3. เพื่อเฝ้าระวังและส่งเสริม การเจริญเติบโตเด็กปฐมวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้
  2. เฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการ
  3. ประชุมชี้แจง
  4. ประชุมทีม
  5. อบรมให้ความรู้
  6. เฝ้าระวัง ส่งเสรอมพัฒนาการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 90
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 20
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีกิจกรรม กินกอด เล่น เล่า นอน เฝ้าดูฟันตามนโยบาย มหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วันระดับรพ.สต.
    1. หญิงมีครรภ์และทารกในครรภ์มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงและปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อนต่างๆในขณะตั้งครรภ์ ขณะคลอด หลังคลอด
  2. เด็ก 0-5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมการเจริญเติบโตเด็กและพัฒนาการตามวัย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 . มีการค้นหา หญิงตั้งครรภ์ ให้มาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ และหญิงตั้งครรภ์ ทุกคนได้รับสมุดบันทึก สุขภาพแม่และเด็ก เมื่อมาฝากครรภ์ ครั้งแรก
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลครรภ์และฝากครรภ์ทันทีเมื่อตั้งครรภ์ (อายุครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์) ร้อยละ 90
90.00

 

2 เพื่อเฝ้าระวังส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์มีสุขภาพแข็งแรงปลอดภัยจากการตั้งครรภ์และการคลอด
ตัวชี้วัด : 1.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการคัดกรองความเสี่ยง ร้อยละ 100 2.ส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์มีสุขภาพแข็งแรงปลอดภัยจากการตั้งครรภ์และการคลอด ร้อยละ100 2.ร้อยละของทารก แรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัมน้อยกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 7.00
100.00

 

3 เพื่อเฝ้าระวังและส่งเสริม การเจริญเติบโตเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : 1.มีการส่งเสริมการเลี้ยงลูก ด้วยนมแม่ ร้อยละ 60 2.การคัดกรอง และส่งเสริมพัฒนาการ เด็กปฐมวัย ร้อยละ 90 3.ร้อยละเด็ก อายุ 0 - 5 ปี สูงดีสมส่วนมากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 64.00 4.ร้อยละเด็ก อายุ 0 - 5 ปี พัฒนาการสมวัยมากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 85.00
90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 90
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 20
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) . มีการค้นหา หญิงตั้งครรภ์ ให้มาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ และหญิงตั้งครรภ์ ทุกคนได้รับสมุดบันทึก สุขภาพแม่และเด็ก เมื่อมาฝากครรภ์ ครั้งแรก (2) เพื่อเฝ้าระวังส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์มีสุขภาพแข็งแรงปลอดภัยจากการตั้งครรภ์และการคลอด (3) เพื่อเฝ้าระวังและส่งเสริม การเจริญเติบโตเด็กปฐมวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) เฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการ (3) ประชุมชี้แจง (4) ประชุมทีม (5) อบรมให้ความรู้ (6) เฝ้าระวัง ส่งเสรอมพัฒนาการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


มารดาและเด็กสุขภาพดี ด้วยตำบลมหัศจรรย์1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5295-1-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวทันยา เทพสิงหรณ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด