กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
รหัสโครงการ L-4129-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลธารน้ำทิพย์
วันที่อนุมัติ 5 กุมภาพันธ์ 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2567 - 31 กรกฎาคม 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 30 สิงหาคม 2567
งบประมาณ 13,400.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางจันทรา ฐิติเมฆินทร์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลธารน้ำทิพย์ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 5.686,101.141place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ปัจจุบันสาเหตุการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เช่นโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน อัมพฤต อัมพาต โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง และโรคอ้วน เป็นต้น ซึ่งโรคต่างๆ เหล่านี้เกิดจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง ซึ่งพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้องดังกล่าว
1.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับความรู้ และประสบการณ์ในการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ทั้งทางด้านอาหาร การออกกำลังกาย และการส่งเสริมสุขภาพจิต
  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพิ่มขึ้น ทำให้มีพฤติกรรมสุขภาพปรับเปลี่ยน ไปในทางที่ดีขึ้นเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
2 2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไป
  1. ประชาชนกลุ่มป่วยด้วยโรคเรื้อรังมีความรู้ และทักษะในการดูแลตนเอง เพื่อป้องกันโรคแทรกซ้อนสามารถประเมิน และแก้ไขปัญหาภาวะสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชนได้ เพิ่มขึ้นร้อยละ 80
3 3. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้ฝึกทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และสามารถนำกลับไปปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน
  1. ผู้เข้าอบรมมีทักษะในการฝึกปฏิบัติการในแบบต่างๆที่เลือกสรร และนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง บุคคลในครอบครัว และชุมชน เพิ่มขึ้นร้อยละ 80
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพิ่มขึ้น ทำให้มีพฤติกรรมสุขภาพปรับเปลี่ยน   ไปในทางที่ดีขึ้นเพิ่มขึ้น
  2. ประชาชนกลุ่มป่วยด้วยโรคเรื้อรังมีความรู้ และทักษะในการดูแลตนเอง เพื่อป้องกันโรคแทรกซ้อน   สามารถประเมิน และแก้ไขปัญหาภาวะสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชนได้ เพิ่มขึ้น
  3. ผู้เข้าอบรมมีทักษะในการฝึกปฏิบัติการในแบบต่างๆที่เลือกสรร และนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน
      เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง บุคคลในครอบครัว และชุมชน เพิ่มขึ้น
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 ก.พ. 2567 15:42 น.