กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการ 1 เม.ย. 2567 7 พ.ค. 2567

 

จัดกิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็ก 2.1 ดำเนินการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็ก ทุก ๓ เดือน 2.2 บันทึกผลน้ำหนักและส่วนสูงในสมุดทะเบียนเด็ก พร้อมแจ้งผู้ปกครองทราบ 2.3 จัดทำทะเบียนเด็กที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน และเด็กที่มีน้ำหนักน้อยหรือผอม แยกเป็นการเฉพาะ 2.4 อบรมให้ความรู้ผู้ปกครอง - ความสำคัญของอาหาร อาหารที่เหมาะสมสำหรับเด็กอ้วน อาหารที่ควรเพิ่มสำหรับเด็กผอม และอาหารที่เหมาะสมกับเด็กในแต่ละวัย - วิธีการปรับพฤติกรรมและนิสัยการกินของเด็ก - ความสำคัญของการเล่นและการออกกำลัง - วิธีการกระตุ้นให้เด็กเล่นและลดพฤติกรรมเนือยนิ่ง - การเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เด็ก

 

เด็ก 2 – 5 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการ และการกระตุ้นพัฒนาการพร้อมทั้งการส่งเสริมภาวะโภชนาการด้านสุขภาพอนามัยได้ถูกต้องและเหมาะสมตามวัย มีเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ 16 คน มีภาวะโภชนาการดีขึ้นทุกคน โดยมีกลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะโภชนาการสมส่วน 15 คน อีก 1 คน ค่อนข้างผอม

 

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 22 เม.ย. 2567 3 พ.ค. 2567

 

จัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการเด็ก โดยการเรียนรู้ ร่วมสร้าง โภชนาการสมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 1.1 อบรมให้ความรู้แก่ครูและผู้ปกครองเด็กอายุ 2 – 5 ปี เพื่อขับเคลื่อนงานโภชนาการสมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และจุดประกายความคิดเด็กไทยมีโภชนาการสมวัยเพื่อนำไปสู่นวัตกรรมโภชนาการ และให้ผู้เข้าร่วมทำแบบประเมินวัดความรู้ ความเข้าใจ - พัฒนาการตามวัยเด็ก 2-5 ปี - การกระตุ้นพัฒนาการเด็ก 2-5 ปี - การประเมินและคัดกรองพัฒนาการเด็กเบื้องต้น - ความผิดปกติเกี่ยวกับพัฒนาการเด็ก 2-5 ปี 1.2 ครูพี่เลี้ยงเด็กร่วมกับผู้ปกครองเฝ้าระวังประเมินพัฒนาการเด็กทุกเดือน หากสงสัยพัฒนาการล่าช้าให้ส่งพบเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อคัดกรอง 1.3 ครูพี่เลี้ยงเด็กร่วมกับผู้ปกครองกระตุ้นเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าอย่างต่อเนื่อง 1 เดือน และประสานเจ้าหน้าที่สาธารณสุขตรวจคัดกรองซ้ำ หากยังมีพัฒนาการล่าช้าได้รับการส่งต่อไปยังหน่วยบริการที่สูงกว่า 1.4 จัดทำฐานพัฒนาการเด็กอายุ 2 - 5 ปี ในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านโคกทราย

 

เด็ก 2 – 5 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการ และการกระตุ้นพัฒนาการพร้อมทั้งการส่งเสริมภาวะโภชนาการด้านสุขภาพอนามัยได้ถูกต้องและเหมาะสมตามวัย

 

ครูผู้ดูแลเด็กร่วมกับผู้ปกครองในการแก้ปัญหาเด็กน้ำหนักเกินหรืออ้วน น้ำหนักน้อยหรือผอม 16 พ.ค. 2567 16 พ.ค. 2567

 

1.ครูผู้ดูแลเด็กร่วมกับผู้ปกครองในการแก้ปัญหาเด็กน้ำหนักเกินหรืออ้วน น้ำหนักน้อยหรือผอม โดย
1.1 ที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
- ครูผู้ดูแลเด็ก กระตุ้นให้เด็กอ้วนลดพฤติกรรมเนือยนิ่ง และออกไปเล่นในสนามอย่างน้อยให้ได้วันละ 60 นาทีหรือมากกว่า กระตุ้นให้เด็กกินผักผลไม้มากขึ้น (ตามที่กรมอนามัยแนะนำ)
- กรณีเด็กผอม ครูผู้ดูแลแนะนำให้ผู้ปกครองเด็กเพิ่มอาหารเสริมให้เด็ก 1 มื้อ เช่น นมและไข่ กระตุ้นให้เด็กเล่นตามปกติ อย่างน้อยวันละ 60 นาที(ตามที่กรมอนามัยแนะนำ)
1.2 ที่บ้าน
- ผู้ปกครอง กรณีเด็กอ้วน ดูแลเรื่องการกินของเด็ก ลดการกินขนมกรุบกรอบ/ขนมหวาน กินโปรตีนเนื้อสัตว์ กระตุ้นให้เล่นเพิ่มเติมกรณีเด็กผอม กระตุ้นให้เด็กกินมากขึ้น เพิ่มอาหารที่มีไขมัน/โปรตีน (ตามที่กรมอนามัยแนะนำ)
2. รายงานผลการประเมินพัฒนาการเด็กและภาวะโภชนาการให้ผู้ปกครองทราบ

 

เด็ก 2 – 5 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการ และการกระตุ้นพัฒนาการพร้อมทั้งการส่งเสริมภาวะโภชนาการด้านสุขภาพอนามัยได้ถูกต้องและเหมาะสมตามวัย จำนวน 219 คน