โครงการเด็กไทยไม่กินหวาน
ชื่อโครงการ | โครงการเด็กไทยไม่กินหวาน |
รหัสโครงการ | 67-L2494-02-04 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงเรียนบ้านสุไหงบาลา |
วันที่อนุมัติ | 31 มกราคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2567 |
งบประมาณ | 15,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางนอรีญา สะลิมิง |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลมะนังตายอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.354,101.76place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 ต.ค. 2566 | 30 ก.ย. 2567 | 15,000.00 | |||
รวมงบประมาณ | 15,000.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
จากสภาพปัจจุบันนักเรียนโรงเรียนบ้านสุไหงบาลา ไม่ค่อยเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพ การออกกำลังกายเท่าที่ควร ขาดการเอาใจใส่ดูแล สุขภาพร่างกาย ตลอดจนปัญหาเรื่องของพฤติกรรมการกิน และรูปแบบการใช้ชีวิตที่เร่งรีบ อันนำมาสู่โรคอ้วนและโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ จึงทำให้ร่างกายไม่แข็งแรง และมีน้ำหนักตัวมากเกินไป ก่อให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บได้ตลอดเวลา มีภาเสี่ยงต่อโรคอ้วน ตลอดจนโรคไข้หวัดเรื้อรัง ซึ่งมีผลต่อสุขภาพร่างกาย ดังนั้น โรงเรียนบ้านสุไหงบาลาจึงได้ดำเนินการโครงการ เด็กไทยไม่กินหวาน เพื่อกระตุ้นและส่งเสริกิจกรรมทางกายและการให้ความรุ้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการ
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ด้านสุขภาพเกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ 2.เพื่อเฝ้าระวังและติดตามข้อมูลด้านสุขภาพ 3.เพื่อปลูกฝังนิสัยในการรักษาสุขภาพ ด้วยการเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ 1.นักเรียนมีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพด้วยการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ |
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | ต.ค. 66 | พ.ย. 66 | ธ.ค. 66 | ม.ค. 67 | ก.พ. 67 | มี.ค. 67 | เม.ย. 67 | พ.ค. 67 | มิ.ย. 67 | ก.ค. 67 | ส.ค. 67 | ก.ย. 67 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | กิจกรรมหลักและกิจกรรมย่อย(31 ส.ค. 2567-31 ส.ค. 2567) | 15,000.00 | ||||||||||||
รวม | 15,000.00 |
1 กิจกรรมหลักและกิจกรรมย่อย | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 140 | 15,000.00 | 1 | 15,000.00 | 0.00 | |
31 ส.ค. 67 | 1.กินครบ 5 หมู่ อยู่อย่างสบาย 2.นมจืดนะน้อง ป้องกันฟันผุ 3.หวานน้อยหน่อย 4.หวานกับฉัน ฉันอ้วนแน่ 5.ปลอดภัยไว้ก่อน 6.กินเท่านี้ลดเท่าไหร่ | 140 | 15,000.00 | ✔ | 15,000.00 | 0.00 | |
รวมทั้งสิ้น | 140 | 15,000.00 | 1 | 15,000.00 | 0.00 |
1.ผู้เรียนมีความรู้ด้านสุขภาพเกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์
2.ผู้เรียนสามารถเฝ้าระวังและติดตามข้อมูลด้านสุขภาพ
3.ผู้เรียนสุขภาพอนามัยที่แข็งแรง สมบูรณ์ ปราศจากโรค ปลูกฝังนิสัยในการรักษาสุขภาพ ด้วยการเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 16 ก.พ. 2567 12:06 น.