กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำพะยา


“ โครงการชุมชนลำพะยาสูงวัย ห่างไกลสมองเสื่อมด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ประจำปี 2567 ”

ตำบลลำพะยา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวญาณิศา นุ่งอาหลี

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนลำพะยาสูงวัย ห่างไกลสมองเสื่อมด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ประจำปี 2567

ที่อยู่ ตำบลลำพะยา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 67-L4140-1-3 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 เมษายน 2567 ถึง 11 เมษายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนลำพะยาสูงวัย ห่างไกลสมองเสื่อมด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ประจำปี 2567 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำพะยา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำพะยา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนลำพะยาสูงวัย ห่างไกลสมองเสื่อมด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ประจำปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนลำพะยาสูงวัย ห่างไกลสมองเสื่อมด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำพะยา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67-L4140-1-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 เมษายน 2567 - 11 เมษายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำพะยา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการเปลี่ยนแปลงระบบโครงสร้างของประชากรผู้สูงอายุ พบว่ามีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นซึ่งคาดว่า ในปี 2567 ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ (ประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป เกินกว่าร้อยละ 20) การเพิ่มจำนวนและสัดส่วนของผู้สูงอายุอย่างรวดเร็วนี้ จากการสำรวจปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุพบว่า ผู้สูงอายุต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลโดยส่วนมากเป็น โรคทางสมองและจิตเวช โดยเฉพาะภาวะสมองเสื่อม (dementia) ย่อมส่งผลกระทบต่อระบบโครงสร้าง เศรษฐกิจและสังคม ทั้งนี้เนื่องจากผู้สูงอายุนั้นมีความเสี่ยงสูงในด้านความเจ็บป่วยเมื่ออายุมากขึ้น สุขภาพร่างกายอ่อนแอลง มีความเสื่อมของร่างกายมากขึ้น จากรายงานของกลุ่มทำงานด้านสมองเสื่อมในเขตภาคฟื้นเอเชียแปซิฟิก สรุปได้ว่า ในปี 2548 มีผู้ป่วยสมองเสื่อมในภูมิภาคนี้มากถึง 13.7 ล้านคน และจะเพิ่มเป็น 64.6 ล้านคนในอีก 50 ปี ข้างหน้า ในประเทศไทยจำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมในปี พ.ศ. 2559 มีจำนวน 617,000 คน และคาดว่าในปี พ.ศ.2580 จะมีจำนวน 1,350,000 คน

สมองเสื่อมเป็นภาวะที่ความสามารถทางสติปัญญาลดลง คิดและจำไม่ได้ เป็นโรคที่มักพบในผู้สูงอายุทำให้ผู้ที่เป็นมีอาการหลงลืม การใช้ภาษาผิดปกติ และพฤติกรรมรวมถึงอารมณ์เปลี่ยนไป ความผิดปกติของการสื่อภาษาพูด ความผิดปกติของหน้าที่จัดการ และสติปัญญา (intellectual function) โดยแบ่งเป็น 4 ระยะ ระยะที่ 1 ผู้ป่วยเริ่มมีปัญหาเรื่องของความทรงจำลืมใน เรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ เช่น การลืมหนทาง ระยะที่ 2 ผู้ป่วยเริ่มมีปัญหาในการตัดสินใจ อาจคิด หรือพูดอะไรซ้ำ ๆ เช่น ผู้ป่วยอาจทำน้ำร้อนลวกมือตนเอง แล้วมองบาดแผลเฉยๆ เปิดแก๊สลืมจนเกิดไฟไหม้ ระยะที่ 3 ผู้ป่วยเริ่มบกพร่องในการดูแลสุขอนามัยของตัวเอง ไม่สามารถทรงตัวได้ดีขณะยืนหรือเดิน เช่น ปัสสาวะราด และระยะที่ 4 ผู้ป่วยออกจากบ้าน เร่ร่อนบ่อยขึ้น ไม่สามารถจำใครได้เลย ไม่สามารถดูแลตนเองได้เลย เช่น ไม่สามารถเคี้ยว หรือกลืนอาหารเองได้

ดังนั้นงานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทำเนียบจึงเห็นความสำคัญที่จัดทำโครงการชุมชนลำพะยาสูงวัยห่างไกลสมองเสื่อมด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพในการใช้ชีวิตมากขึ้นทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ และเพื่อส่งเสริมการเข้าถึงบริการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสานมากยิ่งขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุฝึกทักษะการป้องกันภาวะสมองเสื่อมและสามารถชะลอภาวะสมองเสื่อม
  3. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดี มีความสุข

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการป้องกันสมองเสื่อมด้วยโปรแกรมโดยแพทย์แผนไทย
  2. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการป้องกันสมองเสื่อมด้วยโปรแกรมโดยแพทย์แผนไทย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ร้อยละ 80 ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองภาวะสมองเสื่อม และภาวะซึมเศร้า

  2. ร้อยละ 80 ผู้สูงอายุสามารถฝึกทักษะการป้องกันภาวะสมองเสื่อมและสามารถชะลอภาวะสมองเสื่อม ไม่ให้มีอาการรุนแรงมากขึ้น

  3. ร้อยละ 80 ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดี มีความสุข


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
ตัวชี้วัด :
35.00

 

2 เพื่อให้ผู้สูงอายุฝึกทักษะการป้องกันภาวะสมองเสื่อมและสามารถชะลอภาวะสมองเสื่อม
ตัวชี้วัด :
35.00

 

3 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดี มีความสุข
ตัวชี้วัด :
35.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุฝึกทักษะการป้องกันภาวะสมองเสื่อมและสามารถชะลอภาวะสมองเสื่อม (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดี มีความสุข

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการป้องกันสมองเสื่อมด้วยโปรแกรมโดยแพทย์แผนไทย (2) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการป้องกันสมองเสื่อมด้วยโปรแกรมโดยแพทย์แผนไทย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนลำพะยาสูงวัย ห่างไกลสมองเสื่อมด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ประจำปี 2567 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 67-L4140-1-3

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวญาณิศา นุ่งอาหลี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด