กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำพะยา


“ โครงการแม่ท้องกับน้องน้อยในครรภ์ ประจำปี 2567 ”

ตำบลลำพะยา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวลีนา สาและ

ชื่อโครงการ โครงการแม่ท้องกับน้องน้อยในครรภ์ ประจำปี 2567

ที่อยู่ ตำบลลำพะยา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 67-L4140-1-4 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 พฤษภาคม 2567 ถึง 10 พฤษภาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแม่ท้องกับน้องน้อยในครรภ์ ประจำปี 2567 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำพะยา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำพะยา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแม่ท้องกับน้องน้อยในครรภ์ ประจำปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแม่ท้องกับน้องน้อยในครรภ์ ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำพะยา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67-L4140-1-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 พฤษภาคม 2567 - 10 พฤษภาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำพะยา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การตั้งครรภ์เป็นระยะพัฒนาการที่สำคัญของครอบครัว นำความปลาบปลื้มปิติยินดีมาสู่ผู้เป็นบิดาและสมาชิกในครอบครัว โดยเฉพาะการตั้งครรภ์ครั้งแรก การตั้งครรภ์ทำให้ร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากทั้งในด้านกายวิภาค ชีวเคมี และสรีรวิทยา เพื่อต้อนรับชีวิตใหม่ที่จะถือกำเนิดมา ร่างกายจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างสลับซับซ้อนสัมพันธ์กับปัจจัยต่างๆ เช่น สภาพแวดล้อม เพื่อเตรียมสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์และเตรียมความพร้อมสำหรับการคลอด นอกจากนี้หญิงตั้งครรภ์ ยังต้องปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคม เช่น บทบาทหน้าที่ ภาพลักษณ์ สัมพันธภาพกับครอบครัว เป็นต้น

        เป้าหมายสูงสุดของงานอนามัยแม่และเด็กที่สำคัญประการหนึ่ง คือ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย โดยมีกลวิธีที่จะบรรลุเป้าหมายดังกล่าว ได้แก่ การให้บริการตั้งแต่ก่อนการตั้งครรภ์และขณะตั้งครรภ์ เพื่อประเมินภาวะเสี่ยงและแก้ไขปัญหาทั้งที่จะเกิดแก่มารดาและทารกได้ อาทิเช่น ปัจจัยด้านอายุมารดาที่ไม่เหมาะสมต่อการตั้งครรภ์ ซึ่งอาจก่อให้เกิดปัญหาโดยทางตรงและทางอ้อม เช่น เสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด เสี่ยงต่อการตกเลือดหลังคลอด น้ำหนักทารกแรกเกิดไม่ได้มาตราฐานตามเกณฑ์ เป็นต้น ปัญหาการตั้งครรภ์เหล่านี้เป็นผลมาจากการขาดความรู้และการตระหนักถึงความจำเป็นของการดูแลดูแลสุขภาพตนเองที่ดีขณะตั้งครรภ์ ทั้งในเรื่องการรับบริการฝากครรภ์ที่ครบตามเกณฑ์ ด้านโภชนาการ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การออกกำลังกาย และ การพักผ่อนเพื่อผ่อนคลาย รวมไปถึงการดูแลสุขภาพจิตใจและการปรับตัวเพื่อรับการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านด้านร่างกาย ด้านจิตใจ และด้านสังคมเพื่อรองรับบทบาทหน้าที่ และภาพลักษณ์ใหม่ที่จะเกิดขึ้น
  จากปัญหาดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำพะยาได้เล็งเห็นถึงปัญหาและต้องการที่จะเพิ่มคุณภาพชีวิตที่ดี  แก่ประชาชนในพื้นที่ประกอบกับนโยบายด้านสุขภาพที่เน้นเชิงรุก เน้นการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการดูแลตนเองและผู้ที่สามารถเข้าถึงและใกล้ชิดชุมชนมากที่สุดก็คืออาสาสมัครสาธารณสุขและเครือข่ายแม่อาสาซึ่งบุคคลเหล่านี้เป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญที่สุดที่จะตอบสนองต่อนโยบายด้านสุขภาพดังกล่าว ดั้งนั้นการเพิ่มพูนศักยภาพให้แก่ภาคีเครือข่ายในชุมชนด้านสุขภาพแม่และเด็กจึงเป็นสิ่งสำคัญที่สามารถพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กและมาเป็นผู้ประสานเพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ถูกต้อง จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมและดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ และทารกในครรภ์ให้ได้รับการดูแลที่ถูกต้อง
  2. เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นในระหว่างตั้งครรภ์และหลังคลอด
  3. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องให้แก่ความเข้าใจที่ถูกต้องให้แก่เครือข่ายในชุมชนเช่นอสม.แม่อาสา เพื่อดูแลเฝ้าระวังค้นหาและส่งต่อหญิงตั้งครรภ์ที่ผิดปกติให้เจ้าหน้าที่ได้ เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนและผู้ร่วมโครงการเกิดความรู้และมีส่วนร่วมในการพัฒนาแนวทางในการสร้างเสริมสุขภาวะของ หญิงตั้งครรภ์มารดาหลังคลอด และทารกหลังคลอด ที่สอดคล้องกับบริบทของชุมชน ทั้งด้านสังคม วัฒนธรรม ศาสนา และการประกอบอาชีพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมหญิงมีครรภ์ หญิงที่แต่งงานใหม่และสามี หญิงวัยเจริญพันธ์ อาสาสมัตรสาธารณสุข แม่อาสา
  2. จัดอบรมหญิงมีครรภ์ หญิงที่แต่งงานใหม่และสามี หญิงวัยเจริญพันธ์ อาสาสมัตรสาธารณสุข แม่อาสา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 25
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.หญิงมีครรภ์ สตรีที่เพิ่งแต่งงานใหม่และสามี มีความรู้และสามารถปฏิบัติตนได้ถูกต้อง

2.หญิงมีครรภ์ทุกคนได้รับการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์และครบตามเกณฑ์

3.อาสาสมัครสาธารณสุข แม่อาสา มีความรู้และศักยภาพสามารถค้นหาแนะนำหญิงมีครรภ์มาฝากครรภ์ก่อน12สัปดาห์ตามกำหนดได้และสามารถเยี่ยมมารดาหลังคลอดและส่งต่อให้เจ้าหน้าที่ในกรณีที่พบภาวะแทรกซ้อนได้

4.ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลและเป็นไปตามบริบทสอดคล้องกับวัฒนธรรม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมและดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ และทารกในครรภ์ให้ได้รับการดูแลที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นในระหว่างตั้งครรภ์และหลังคลอด
ตัวชี้วัด :

 

3 เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องให้แก่ความเข้าใจที่ถูกต้องให้แก่เครือข่ายในชุมชนเช่นอสม.แม่อาสา เพื่อดูแลเฝ้าระวังค้นหาและส่งต่อหญิงตั้งครรภ์ที่ผิดปกติให้เจ้าหน้าที่ได้ เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนและผู้ร่วมโครงการเกิดความรู้และมีส่วนร่วมในการพัฒนาแนวทางในการสร้างเสริมสุขภาวะของ หญิงตั้งครรภ์มารดาหลังคลอด และทารกหลังคลอด ที่สอดคล้องกับบริบทของชุมชน ทั้งด้านสังคม วัฒนธรรม ศาสนา และการประกอบอาชีพ
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 25
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 25
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมและดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์  และทารกในครรภ์ให้ได้รับการดูแลที่ถูกต้อง (2) เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นในระหว่างตั้งครรภ์และหลังคลอด (3) เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องให้แก่ความเข้าใจที่ถูกต้องให้แก่เครือข่ายในชุมชนเช่นอสม.แม่อาสา เพื่อดูแลเฝ้าระวังค้นหาและส่งต่อหญิงตั้งครรภ์ที่ผิดปกติให้เจ้าหน้าที่ได้ เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนและผู้ร่วมโครงการเกิดความรู้และมีส่วนร่วมในการพัฒนาแนวทางในการสร้างเสริมสุขภาวะของ  หญิงตั้งครรภ์มารดาหลังคลอด และทารกหลังคลอด ที่สอดคล้องกับบริบทของชุมชน ทั้งด้านสังคม วัฒนธรรม ศาสนา และการประกอบอาชีพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมหญิงมีครรภ์ หญิงที่แต่งงานใหม่และสามี หญิงวัยเจริญพันธ์ อาสาสมัตรสาธารณสุข แม่อาสา (2) จัดอบรมหญิงมีครรภ์ หญิงที่แต่งงานใหม่และสามี หญิงวัยเจริญพันธ์ อาสาสมัตรสาธารณสุข แม่อาสา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการแม่ท้องกับน้องน้อยในครรภ์ ประจำปี 2567 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 67-L4140-1-4

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวลีนา สาและ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด