กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำภูรา


“ โครการส่งเสริมสุขภาพด้วยการกำจัดเหาอย่างปลอดภัยในโรงเรียน ”

ตำบลลำภูรา อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาววิชุตา กังงิ่น

ชื่อโครงการ โครการส่งเสริมสุขภาพด้วยการกำจัดเหาอย่างปลอดภัยในโรงเรียน

ที่อยู่ ตำบลลำภูรา อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L8330-2-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2566 ถึง 31 มีนาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครการส่งเสริมสุขภาพด้วยการกำจัดเหาอย่างปลอดภัยในโรงเรียน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำภูรา อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำภูรา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครการส่งเสริมสุขภาพด้วยการกำจัดเหาอย่างปลอดภัยในโรงเรียน



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเหาเป็นโรคที่พบบ่อยมากในเด็กนักเรียนผู้หญิงระดับประถมศึกษา โดยพบว่ามีนักเรียนหญิงที่ติดเหาประมาณ 90 % ของนักเรียนหญิงทั้งหมดในโรงเรียน ซึ่งการดูแลความสะอาดร่างกายในเด็กวัยเรียนเป็นสิ่งสำคัญเฉพาะอย่างยิ่งความสะอาดบริเวณศีรษะ ทั้งนี้เหาเป็นแมลงขนาดเล็กไม่มีปีกเป็นตัวเบียดเบียนกัดศีรษะและดูดเลือดเป็นอาหารโดยอาศัยบนศีรษะที่ไม่สะอาด เหาจะระบาดและแพร่กระจายในกลุ่มนักเรียน และเหาเป็นโรคที่ก่อให้เกิดความรำคาญให้ขาดสมาธิในการเรียนและเป็นที่น่ารังเกียจของสังคมรวมทั้งก่อให้เกิดภาวะโลหิตจางได้ด้วย โดยมากครอบครัวเจอสภาวะทางเศรษฐกิจที่ฝืดเคือง ครอบครัวอยู่ในฐานะยากจน ทำให้เกิดความละเลยในการดูแลสุขภาพของบุตรหลาน เหาเป็นโรคที่รักษาได้ง่าย ด้วยการดูแลศีรษะอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง ทั้งระหว่างนักเรียนด้วยกันและนักเรียนกับบุคคลในครองครัว การแก้ปัญหาเพื่อตัดวงจรการระบาดของโรคเหาในโรงเรียน คือต้องกำจัดเหาและปฏิบัติตนเองอย่างถูกต้อง และรักษาความสะอาดของเส้นผมและหนังศีรษะ จากการสำรวจนักเรียนผู้หญิงในโรงเรียนที่กล่าวข้างต้น ทางโรงเรียนจึงให้ความสำคัญในการกำจัดเหาในโรงเรียน โดยให้นักเรียนได้เรียนรู้และการดูแลรักษาความสะอาดร่างกายและศีรษะของตนเองอย่างถูกวิธี ทางโรงเรียนจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 19
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 29
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.นักเรียน ครู และผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพร่างกายและศีรษะ การกำจัดเหาอย่างถูกวิธี 2.นักเรียนไม่มีเหาและไม่มีการแพร่กระจายของเหาภายในโรงเรียน 3.นักเรียนมีสมาธิในการเรียนมากขึ้นและมีบุคลิกภาพที่ดี


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    จากการดำเนินงานโครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการกำจัดเหาอย่างปลอดภัยในโรงเรียน โดยมี นางสาววิชุตา กังงิ่น รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการ กล่าวรายงาน โดยมีนางสาวอนิสา วินสน นายกเทศมนตรีตำบลลำภูรา เป็นประธานในพิธีเปิด ได้เชิญวิทยากร ชื่อ นายวิทวัช พลเดช เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำภูรา ให้ความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมที่ส่งผลต่อการเกิดเหา การดูแลร่างกายอย่างไรให้สะอาด วิธีการกำจัดเหาอย่างปลอดภัย และมอบอุปกรณ์ยากำจัดเหา ผ้าขนหนู หมวกพลาสติก หวีส่างเหา และถุงมือให้กับโรงเรียนและนักเรียน 20 คน (นร.ที่ติดเหา) และการกำจัดเหาให้กับนักเรียนภายในโรงเรียน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 48 80
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 19
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 29
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครการส่งเสริมสุขภาพด้วยการกำจัดเหาอย่างปลอดภัยในโรงเรียน จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 67-L8330-2-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาววิชุตา กังงิ่น )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด