กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองม่วงงาม


“ โครงการป้องกันควบคุมโรคที่มียุงเป็นพาหะ ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายประทีป จันทบูลย์

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันควบคุมโรคที่มียุงเป็นพาหะ ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5268-01-01 เลขที่ข้อตกลง 1/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กุมภาพันธ์ 2024 ถึง 30 กันยายน 2024


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันควบคุมโรคที่มียุงเป็นพาหะ ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองม่วงงาม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันควบคุมโรคที่มียุงเป็นพาหะ ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันควบคุมโรคที่มียุงเป็นพาหะ ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5268-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กุมภาพันธ์ 2024 - 30 กันยายน 2024 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 42,314.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองม่วงงาม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคที่มียุงเป็นพาหะ อาทิเช่น โรคไข้เลือดออก โรคไข้มาลาเรีย โรคไข้ปวดข้อยุงลาย (ชิคุนกุนย่า)
โรคไข้สมองอักเสบ โรคไข้ซิกา เป็นต้น โดยเฉพาะโรคไข้เลือดออก ถือเป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุข เนื่องจากสามารถแพร่กระจายอย่างกว้างขวางและมีอันตรายต่อสุขภาพถึงขั้นเสียชีวิตได้ สถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดสงขลา (ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม – 26 พฤษภาคม 2566) พบผู้ป่วยไข้เลือดออก 1,128 ราย คิดเป็น อัตราป่วย 72.30 ต่อประชากรแสนคน เสียชีวิต จำนวน 2 ราย อำเภอที่พบผู้ป่วยสูงสุด คือ อำเภอหาดใหญ่ (327) สะเดา (188) เมืองสงขลา (170) จะนะ (110) และสิงหนคร (60) ตามลำดับ ซึ่งปัจจุบันสถานการณ์โรคไข้เลือดออกตำบลม่วงงาม (ข้อมูล ตั้งแต่1 ตุลาคม 2565 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2566) เทศบาล เมืองม่วงงามได้รับแจ้งสถานการณ์โรคไข้เลือดออกตามการวินิจฉัยทุกประเภทจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลม่วงงาม จำนวน 85 ราย โดยพบผู้ป่วยสูงสุดในหมู่ที่ 4 จำนวน 22 ราย หมู่ที่ 3 จำนวน 19 ราย และหมู่ที่ 5 จำนวน 13 ราย ตามลำดับ ปัจจุบันในเขตพื้นที่ตำบลม่วงงามยังพบว่าสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกทวีความรุนแรงและเกิดขึ้นตลอดทั้งปี และมีจำนวนผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้เนื่องมาจากเขตพื้นที่ตำบลม่วงงามมีลักษณะภูมิอากาศแบบฝนตกๆ หยุด ๆ ทั้งปี เอื้อต่อการขยายพันธุ์ของยุงเป็นอย่างมาก และประกอบกับสภาวะสิ่งแวดล้อมที่อยู่อาศัย
เช่น บริเวณบ้านมีแหล่งน้ำลำคลอง บางหมู่บ้านมีประชากรอาศัยอยู่อย่างหนาแน่น บางบริเวณที่อยู่อาศัย มีกองขยะมูลฝอย ซึ่งเป็นแหล่งเพาะพันธุ์โรค จึงจำเป็นต้องทำการควบคุมป้องกันและรณรงค์ เพื่อให้สถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกอยู่ในสภาวะที่ไม่รุนแรงและเพื่อเป็นการป้องกันอย่างต่อเนื่อง การรณรงค์ให้ประชาชนเห็นความสำคัญ และตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออก รวมถึง การพ่นเคมีกำจัดยุงและใช้สารเคมีกำจัดยุง สามารถช่วยลดจำนวนของยุงพาหะนำโรคได้ และตัดวงจรการเกิดโรค เพื่อให้การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ลดความสูญเสียในชีวิตของประชาชน เทศบาลเมืองม่วงงามจึงจัดทำโครงการป้องกันควบคุมโรคที่มียุงเป็นพาหะ ประจำปี 2567 โดยขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองม่วงงาม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้กับประชาชน ในการป้องกันและมีความตระหนักถึงอันตรายของโรคที่มียุงเป็นพาหะ
  2. ข้อที่ 2 เพื่อการควบคุมโรคให้ทันเวลาภายหลังการได้รับแจ้ง โดยการพ่นเคมีกำจัดยุงพาหะนำโรคอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชาสัมพันธ์
  2. กิจกรรมรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง ในชุมชนและป้องกันโรคที่มียุงเป็นพาหะ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สามารถควบคุมโรคที่มียุงเป็นพาหะในพื้นที่ตำบลม่วงงามได้อย่างทันเวลา
  2. ไม่พบการสูญเสียในระดับที่รุนแรงของประชาชนจากโรคที่มียุงเป็นพาหะ
  3. การมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่ตำบลม่วงงาม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้กับประชาชน ในการป้องกันและมีความตระหนักถึงอันตรายของโรคที่มียุงเป็นพาหะ
ตัวชี้วัด : ประชาชนปฏิบัติตัวได้ถูกต้องเมื่อป่วยเป็นโรคที่มียุงเป็นพาหะ

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อการควบคุมโรคให้ทันเวลาภายหลังการได้รับแจ้ง โดยการพ่นเคมีกำจัดยุงพาหะนำโรคอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ตัวชี้วัด : 1. ความพร้อมใช้ของอุปกรณ์ในการควบคุมโรค 2. ความทันเวลาในการพ่นเคมี 3. ความสำเร็จในการควบคุมโรค

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้กับประชาชน ในการป้องกันและมีความตระหนักถึงอันตรายของโรคที่มียุงเป็นพาหะ (2) ข้อที่ 2 เพื่อการควบคุมโรคให้ทันเวลาภายหลังการได้รับแจ้ง โดยการพ่นเคมีกำจัดยุงพาหะนำโรคอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ (2) กิจกรรมรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง ในชุมชนและป้องกันโรคที่มียุงเป็นพาหะ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันควบคุมโรคที่มียุงเป็นพาหะ ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5268-01-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประทีป จันทบูลย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด