โครงการผู้สูงวัย สดใส ใส่ใจสุขภาพดี ชีวีมีสุข หมู่ที่ 11 ตำบลนาขยาด
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการผู้สูงวัย สดใส ใส่ใจสุขภาพดี ชีวีมีสุข หมู่ที่ 11 ตำบลนาขยาด ”
หัวหน้าโครงการ
ชมรมผู้สูงอายุ หมู่ที่ 11 (นางสุวรรณทิพย์ ทองมาก)
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาขยาด
ธันวาคม 2567
ชื่อโครงการ โครงการผู้สูงวัย สดใส ใส่ใจสุขภาพดี ชีวีมีสุข หมู่ที่ 11 ตำบลนาขยาด
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 67-L3320-02-12 เลขที่ข้อตกลง 26/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 ธันวาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการผู้สูงวัย สดใส ใส่ใจสุขภาพดี ชีวีมีสุข หมู่ที่ 11 ตำบลนาขยาด จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาขยาด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้สูงวัย สดใส ใส่ใจสุขภาพดี ชีวีมีสุข หมู่ที่ 11 ตำบลนาขยาด
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการผู้สูงวัย สดใส ใส่ใจสุขภาพดี ชีวีมีสุข หมู่ที่ 11 ตำบลนาขยาด " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 67-L3320-02-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กรกฎาคม 2567 - 30 ธันวาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,340.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาขยาด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
- เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
- ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีความปวดเมื่อย/เข่าเสื่อม/การเคลื่อนไหวร่างกายไม่คล่องแคล่ว
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมแต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการ
- กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
- การประเมินผลและถอดบทเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้สูงอายุ ที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเหวานและความดันโลหิตสูงลดลง และจำนวนของผู้สูงอายุที่มีความปวดเมื่อย/เข่าเสื่อม/การเคลื่อนไหวร่างกายไม่คล่องแคล่วลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมแต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการ
วันที่ 2 สิงหาคม 2567 เวลา 09:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมคณะกรรมการ จำนวน 6 คน วันที่ 2 สิงหาคม 2567 ณ ที่ทำการหมู่บ้าน หมู่ที่ 11 บ้านไสควายฟัน เพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กำหนดจัดกิจกรรมที่ วันที่ 7 ตุลาคม 2567 เวลา 08.00 - 15.30 น. ณ ที่ทำการหมู่บ้าน หมู่ที่ 11 แต่งตั้งคณะทำงาน 9 ฝ่าย
0
0
2. กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
วันที่ 7 ตุลาคม 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดกิจกรรมวันที่ 7 ตุลาคม 2567 ณ ที่ทำการหมู่บ้าน หมู่ที่ 11 มีผู้เข้าร่วม 45 คน นายสิทธิชัย ไชยสุวรรณ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 11 เป็นประธานเปิดโครงการ นางยินดี รามทอง เป็นผู้กล่าวรายงาน นางเอมอร ชะหนู ผอ.รพ.สต.บ้านใสนายขัน เป็นวิทยากรบรรยาย เรื่อง การดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุโดยใช้หลักการ 3 อ กิจกรรมขยับร่างกาย สลายโรค และการบริหารสมอง นางธนิษฐ์นันท์ รัตนพันธ์ แพทย์แผนไทย รพ.ควนขนุน เป็นวิทยากรบรรยาย เรื่อง ลูกประคบสมุนไพร ประโยชน์ สรรพคุณ และการทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้าร่วมนำความรู้ไปปฏิบัติในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การดูแลสุขภาพตามหลัก 3 อ ตามบริบทของตนเองเพื่อช่วยลดความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง การทำลูกประคบสมุนไพร
0
0
3. การประเมินผลและถอดบทเรียน
วันที่ 11 ตุลาคม 2567 เวลา 09:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ประเมินผลและถอดบทเรียน วันที่ 11 ตุลาคม 2567 ณ ที่ทำการหมู่บ้าน หมู่ที่ 11
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมการอบรม ได้รับการเสริมสร้างสุขภาพที่ดี ลดความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง และลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความปวดเมื่อย เข่าเสื่อม การเคลื่อนไหวร่างกายไม่คล่องแคล่ว ประกอบกับการปฎิบัติกิจกรรมตามเนื้อหาในการอบรม ทั้ง 2 เรื่อง ได้แก่ การดูแลสุขภาพอนามัยของตนเองตามหลักการของ 3 อ. และการลงมือปฎิบัติการทำลูกประสมุนไพรสามารถนำความรู้ไปพัฒนาต่อยอดได้
-ผู้สูงอายุ มีความเข้าใจเรื่องการดูแลสุขภาพและรู้สึกดี มีความสุขกับกิจกรรมที่ได้ลงมือปฎิับติ มีความกล้าในการแสดงออกและซักถามปัญหาสุขภาพกับวิทยากร
-เนื้อหาของการอบรมได้มีการออกแบบได้ตรงกับปัญหาและความต้องของผู้สูงอายุทั้งเรื่องการปรับพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันสูง และการลงมือปฎิบัติการทำลูกประคบสมุนไพรเพื่อบรรเทาความปวดเมื่อย เข่าเสื่อม และการเคลื่อนไหวร่างกายที่ไม่คล่องแคล่ว
-คณะทำงานเกิดการเปลี่ยนแปลงทัศนคติที่ดีต่อการทำงานร่วมกันมากขึ้น แบ่งกลุ่มทำงานตามคำสั่ง ทำให้เกิดรูปแบบที่ดีในการทำงานของชมรมผู้สูงอายุระดับหมู่บ้าน
-ระหว่างการจัดกิจกรรมตามโครงการ พบปัญหาอะไรที่คาดว่าโครงการจะไม่ประสบความสำเร็จ คณะทำงานเสนอความคิดเห็นและหาข้อสรุปร่วมกัน สามารถแก้ปัญหาให้ผ่านพ้นไปได้
-ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมการอบรม มีความสามัคคีในการทำกิจกรรมต่างๆ ร่วมกัน ผ่อนคลายสนุกสนาน ช่วยให้เกิดการทำกิจกรรมไปในทิศทางเดียวกันอย่างราบรื่น
-ผู้รับผิดชอบโครงการมีความสามารถบริหารงบประมาณที่ได้รับให้อยู่ในวงเงินที่ได้รับอนุมัติ เพราะมีการวางแผนและมีกระบวนการใช้จ่ายงบประมาณที่ชัดเจน
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลงลด
24.25
15.00
12.50
2
เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลงลด
18.60
14.00
10.00
3
ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีความปวดเมื่อย/เข่าเสื่อม/การเคลื่อนไหวร่างกายไม่คล่องแคล่ว
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีความปวดเมื่อย/เข่าเสื่อม/การเคลื่อนไหวร่างกายไม่คล่องแคล่ว ลดลง
35.40
20.00
17.50
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
47
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (2) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (3) ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีความปวดเมื่อย/เข่าเสื่อม/การเคลื่อนไหวร่างกายไม่คล่องแคล่ว
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมแต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการ (2) กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ (3) การประเมินผลและถอดบทเรียน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการผู้สูงวัย สดใส ใส่ใจสุขภาพดี ชีวีมีสุข หมู่ที่ 11 ตำบลนาขยาด จังหวัด
รหัสโครงการ 67-L3320-02-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ชมรมผู้สูงอายุ หมู่ที่ 11 (นางสุวรรณทิพย์ ทองมาก) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการผู้สูงวัย สดใส ใส่ใจสุขภาพดี ชีวีมีสุข หมู่ที่ 11 ตำบลนาขยาด ”
หัวหน้าโครงการ
ชมรมผู้สูงอายุ หมู่ที่ 11 (นางสุวรรณทิพย์ ทองมาก)
ธันวาคม 2567
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 67-L3320-02-12 เลขที่ข้อตกลง 26/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 ธันวาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการผู้สูงวัย สดใส ใส่ใจสุขภาพดี ชีวีมีสุข หมู่ที่ 11 ตำบลนาขยาด จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาขยาด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้สูงวัย สดใส ใส่ใจสุขภาพดี ชีวีมีสุข หมู่ที่ 11 ตำบลนาขยาด
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการผู้สูงวัย สดใส ใส่ใจสุขภาพดี ชีวีมีสุข หมู่ที่ 11 ตำบลนาขยาด " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 67-L3320-02-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กรกฎาคม 2567 - 30 ธันวาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,340.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาขยาด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
- เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
- ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีความปวดเมื่อย/เข่าเสื่อม/การเคลื่อนไหวร่างกายไม่คล่องแคล่ว
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมแต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการ
- กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
- การประเมินผลและถอดบทเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 40 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้สูงอายุ ที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเหวานและความดันโลหิตสูงลดลง และจำนวนของผู้สูงอายุที่มีความปวดเมื่อย/เข่าเสื่อม/การเคลื่อนไหวร่างกายไม่คล่องแคล่วลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมแต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการ |
||
วันที่ 2 สิงหาคม 2567 เวลา 09:30 น.กิจกรรมที่ทำประชุมคณะกรรมการ จำนวน 6 คน วันที่ 2 สิงหาคม 2567 ณ ที่ทำการหมู่บ้าน หมู่ที่ 11 บ้านไสควายฟัน เพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกำหนดจัดกิจกรรมที่ วันที่ 7 ตุลาคม 2567 เวลา 08.00 - 15.30 น. ณ ที่ทำการหมู่บ้าน หมู่ที่ 11 แต่งตั้งคณะทำงาน 9 ฝ่าย
|
0 | 0 |
2. กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ |
||
วันที่ 7 ตุลาคม 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดกิจกรรมวันที่ 7 ตุลาคม 2567 ณ ที่ทำการหมู่บ้าน หมู่ที่ 11 มีผู้เข้าร่วม 45 คน นายสิทธิชัย ไชยสุวรรณ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 11 เป็นประธานเปิดโครงการ นางยินดี รามทอง เป็นผู้กล่าวรายงาน นางเอมอร ชะหนู ผอ.รพ.สต.บ้านใสนายขัน เป็นวิทยากรบรรยาย เรื่อง การดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุโดยใช้หลักการ 3 อ กิจกรรมขยับร่างกาย สลายโรค และการบริหารสมอง นางธนิษฐ์นันท์ รัตนพันธ์ แพทย์แผนไทย รพ.ควนขนุน เป็นวิทยากรบรรยาย เรื่อง ลูกประคบสมุนไพร ประโยชน์ สรรพคุณ และการทำ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้าร่วมนำความรู้ไปปฏิบัติในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การดูแลสุขภาพตามหลัก 3 อ ตามบริบทของตนเองเพื่อช่วยลดความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง การทำลูกประคบสมุนไพร
|
0 | 0 |
3. การประเมินผลและถอดบทเรียน |
||
วันที่ 11 ตุลาคม 2567 เวลา 09:30 น.กิจกรรมที่ทำประเมินผลและถอดบทเรียน วันที่ 11 ตุลาคม 2567 ณ ที่ทำการหมู่บ้าน หมู่ที่ 11 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้สูงอายุที่เข้าร่วมการอบรม ได้รับการเสริมสร้างสุขภาพที่ดี ลดความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง และลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความปวดเมื่อย เข่าเสื่อม การเคลื่อนไหวร่างกายไม่คล่องแคล่ว ประกอบกับการปฎิบัติกิจกรรมตามเนื้อหาในการอบรม ทั้ง 2 เรื่อง ได้แก่ การดูแลสุขภาพอนามัยของตนเองตามหลักการของ 3 อ. และการลงมือปฎิบัติการทำลูกประสมุนไพรสามารถนำความรู้ไปพัฒนาต่อยอดได้
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลงลด |
24.25 | 15.00 | 12.50 |
|
2 | เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลงลด |
18.60 | 14.00 | 10.00 |
|
3 | ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีความปวดเมื่อย/เข่าเสื่อม/การเคลื่อนไหวร่างกายไม่คล่องแคล่ว ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีความปวดเมื่อย/เข่าเสื่อม/การเคลื่อนไหวร่างกายไม่คล่องแคล่ว ลดลง |
35.40 | 20.00 | 17.50 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | 47 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (2) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (3) ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีความปวดเมื่อย/เข่าเสื่อม/การเคลื่อนไหวร่างกายไม่คล่องแคล่ว
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมแต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการ (2) กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ (3) การประเมินผลและถอดบทเรียน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการผู้สูงวัย สดใส ใส่ใจสุขภาพดี ชีวีมีสุข หมู่ที่ 11 ตำบลนาขยาด จังหวัด
รหัสโครงการ 67-L3320-02-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ชมรมผู้สูงอายุ หมู่ที่ 11 (นางสุวรรณทิพย์ ทองมาก) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......