กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำภูรา


“ โครงการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อบรรเทาโรคทางระบบกล้ามเนื้อด้วยลูกประคบสมุนไพร ”

ตำบลลำภูรา อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายวิระไชย แก้วไชย

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อบรรเทาโรคทางระบบกล้ามเนื้อด้วยลูกประคบสมุนไพร

ที่อยู่ ตำบลลำภูรา อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L8330-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 มกราคม 2567 ถึง 31 มีนาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อบรรเทาโรคทางระบบกล้ามเนื้อด้วยลูกประคบสมุนไพร จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำภูรา อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำภูรา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อบรรเทาโรคทางระบบกล้ามเนื้อด้วยลูกประคบสมุนไพร



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อบรรเทาโรคทางระบบกล้ามเนื้อด้วยลูกประคบสมุนไพร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำภูรา อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L8330-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 มกราคม 2567 - 31 มีนาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,310.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำภูรา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกเป็นที่ยอมรับและมีบทบาทมากขึ้น โดยมีนโยบายของรัฐบาลสนับสนุนให้ประชาชนได้เข้าถึงบริการแพทย์แผนไทยอย่างทั่วถึง เนื่องจากมีการนำยาสมุนไพรบางชนิดเข้ามาทดแทนยาแผนปัจจุบัน ลดการใช้ยาที่จะส่งผลต่อตับและไตภายหลัง ซึ่งในปัจจุบันสามารถเลือกการรักษาได้หลากหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นการรักษาภายนอกสู่ภายในด้านการแพทย์แผนไทย เช่น การอบสมุนไพร การสุมยา การดูแลและฟื้นฟูมารดาหลังคลอด การนวดบำบัดรักษาโรค การประคบสมุนไพร ประชาชนส่วนใหญ่จะมีอาการปวดเมื่อยจากการทำงาน จากการเคลื่อนไหวผิดจังหวะ ทำให้เกิดอาการปวด เมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดข้อ เคล็ดขัดยอก จึงต้องหาวิธีการต่างๆ เพื่อให้อาการปวดทุเลาลง โดยหายามาทาหรือรับประทาน การใช้ยาสมุนไพรในการบำบัดโรคเบื้องต้น รวมถึงการนวดบำบัดรักษาโรค และการใช้ลูกประคบสมุนไพรในปัจจุบันเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย ซึ่งการนวดจะต้องควบคู่ไปกับการประคบสมุนไพร เพื่อบำบัดรักษาโรคให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น ดังนั้นลูกประคบสมุนไพรจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง เป็นวิธีการบำบัดรักษาของการแพทย์แผนโบราณ โดยการนำลูกประคบสมุนไพรมาประคบบริเวณที่เจ็บปวด เคล็ดขัดยอก ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดตามข้อ โดยอาศัยความร้อนและคุณสมบัติของลูกประคบสมุนไพร ทำให้อาการดีขึ้น คนไทยนิยมใช้ ลูกประคบสมุนไพรรักษากันมาแต่โบราณจนถึงปัจจุบัน โดยมักใช้รักษาควบคู่กับการนวดไทย คือ หลังจากนวดบำบัดรักษาโรคเสร็จแล้วจึงนำลูกประคบสมุนไพรประคบไปตามร่างกาย ผลของความร้อนที่ได้จาการประคบ ทำให้หลอดเลือดฝอยขยายตัว และตัวยาสมุนไพรที่โดนความร้อนจะซึมผ่านผิวหนังเข้าสู่ร่างกายและยังช่วยทำให้เนื้้อเยื่อพังผืดยืดตัวออก ลดการติดขัดของข้อต่อ ลดการเกร็งตัวของกล้ามเนื้อ ลดปวดช่วยลดการบวมที่เกิดจากการอักเสบของกล้ามเนื้อ เอ็น และข้อต่อ และช่วยเพิ่มการไหลเวียนของโลหิต ด้วยเหตุดังกล่าว ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขเทศบาลตำบลลำภูรา ได้เล็งเห็นความสำคัญของการนวดด้วยลูกประคบและการผลิตลูกประคบสมุนไพร เพื่อนำไปใช้ในผู้ป่วยหรือผู้มีปัญหาและอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดข้อ เคล็ดขัดยอก สร้างสายใยภายในครอบครัวด้วยการนวดประคบผ่อนคลายจากการทำงานให้กับสมาชิกในครอบครัว และโดยเฉพาะการนำลูกประคบสมุนไพรมาใช้ดูแลเอาใจใส่จากคนรอบข้างโดยให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและประชาชนผู้ที่สนใจได้นำความรู้ที่ได้ไปดูแลตนเองและบุคคลในครอบครัวให้มีสุขภาพที่ดีขึ้น ทั้งด้านร่างกาย และจิตใจ ทำให้ประชาชนในชุมชนตระหนักและเห็นคุณค่าของสมุนไพรไทย โดยการนำสมุนไพรในท้องถิ่นมาใช้ให้เกิดประโยชน์สามารถสร้างรายได้ให้กับครอบครัวและผลิตลูกประคบสมุนไพรไว้ใช้ในครัวเรือนได้ด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อส่งเสริมให้แกนนำสุขภาพ และประชาชนมีความรู้ การปลูกและอนุรักษ์พืชสมุนไพรพื้นบ้านสำหรับใช้ในการรักษาโรคทางเลือก
  2. เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพ เช่น ใช้ลูกประคบในผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้าน และผู้ที่มีปัญหาระบบกล้ามเนื้อ
  3. เพื่อส่งเสริมให้แกนนำสุขภาพและประชาชนส่งเสรสิมภูมิปัญญาและองค์ความรู้ด้านแพทย์แผนไทยให้คงอยู่สืบไป

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 25
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ส่งเสริมให้แกนนำสุขภาพ และประชาชนมีความรู้ การปลูปและอนุรักษ์พืชสมุนไพรพื้นบ้านสำหรับใช้ในการรักษาโรคทางเลือก 2.ส่งเสริมการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพ เช่น ใช้ลูกประคบในผู้ป่วยติดเตียง ติดเตียง และผู้ที่มีปัญหาระบบกล้ามเนื้อ 3.ส่งเสริมให้แกนนำสุขภาพและประชาชนสร้างภูมิปัญญาและองค์ความรู้ด้านแผนไทยให้คงอยู่สืบไป


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อส่งเสริมให้แกนนำสุขภาพ และประชาชนมีความรู้ การปลูกและอนุรักษ์พืชสมุนไพรพื้นบ้านสำหรับใช้ในการรักษาโรคทางเลือก
    ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมฝึกอบรา ร้อยละ 90 สามารถเป็นแกนนำสุขภาพ และมีความรู้เรื่องการปลูกและอนุรักษ์พืชสมุนไพรพื้นบ้านสำหรับใช้ในการรักษาโรคทางเลือก

     

    2 เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพ เช่น ใช้ลูกประคบในผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้าน และผู้ที่มีปัญหาระบบกล้ามเนื้อ
    ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมฝึกอบรม ร้อยละ 90 มีความรู้เรื่องการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพ เช่น ใช้ลูกประคบในผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้าน และผู้ที่มีปัญหาระบบกล้ามเนื้อ

     

    3 เพื่อส่งเสริมให้แกนนำสุขภาพและประชาชนส่งเสรสิมภูมิปัญญาและองค์ความรู้ด้านแพทย์แผนไทยให้คงอยู่สืบไป
    ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมฝึกอบรม ร้อยละ 90 มีความรู้เรื่องการส่งเสริมภูมิปัญญาและองค์ความรู้ด้านแพทย์แผนไทย สามารถถ่ายทอดให้คนอื่นๆได้

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 25
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 25
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมให้แกนนำสุขภาพ และประชาชนมีความรู้ การปลูกและอนุรักษ์พืชสมุนไพรพื้นบ้านสำหรับใช้ในการรักษาโรคทางเลือก (2) เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพ เช่น ใช้ลูกประคบในผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้าน และผู้ที่มีปัญหาระบบกล้ามเนื้อ (3) เพื่อส่งเสริมให้แกนนำสุขภาพและประชาชนส่งเสรสิมภูมิปัญญาและองค์ความรู้ด้านแพทย์แผนไทยให้คงอยู่สืบไป

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อบรรเทาโรคทางระบบกล้ามเนื้อด้วยลูกประคบสมุนไพร จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 67-L8330-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายวิระไชย แก้วไชย )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด