กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังยง


“ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเด็กปอเนาะด้วยกีฬา อบต.มะนังยง ปี 2567 ”

ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางรอหานี เจะมะ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเด็กปอเนาะด้วยกีฬา อบต.มะนังยง ปี 2567

ที่อยู่ ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3046-02-10 เลขที่ข้อตกลง 10/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 27 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเด็กปอเนาะด้วยกีฬา อบต.มะนังยง ปี 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเด็กปอเนาะด้วยกีฬา อบต.มะนังยง ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเด็กปอเนาะด้วยกีฬา อบต.มะนังยง ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3046-02-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 กุมภาพันธ์ 2567 - 27 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การออกกำลังกายหรือการเล่นกีฬาอย่างสม่ำเสมอ เป็นกิจกรรมสำคัญที่ส่งเสริมให้คนมีพัฒนาการทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคม ก่อให้เกิดพลานามัยที่แข็งแรงสมบูรณ์ รู้จักทำงานร่วมกันเป็นทีม ปลูกฝังความสามัคคีของผู้ร่วมกิจกรรม สร้างให้เป็นผู้มีน้ำใจนักกีฬา รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย และเคารพในกฎ ระเบียบ กติกา การแข่งขันสามารถนำทักษะที่เกิดขึ้นไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน การออกกำลังกายด้วยกิจกรรมกีฬาทำได้ในช่วงเวลาว่างจาการทำงาน จากการเรียน การเล่นกีฬายังช่วยให้เยาวชนห่างไกลยาเสพติดได้อีกทางหนึ่ง ซึ่งปัจจุบันมีเยาวชนและผู้หลงผิด ปฏิบัติตนไปในทางที่ไม่ควรอยู่มากมาย อาจจะเกิดจากการคบเพื่อนไม่ดีชักชวนกันไปในทางที่สร้างปัญหาให้แก่สังคมไปมั่วสุมอบายมุขต่างๆ ส่งผลกระทบถึงประเทศชาติทำให้เกิดการพัฒนาเป็นไปอย่างล่าช้า โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเด็กปอเนาะด้วยกีฬานี้ จึงมีส่วนที่จะช่วยให้เด็กและเยาวชนที่มีความสนใจในกีฬาที่ตนเองถนัด และหันมาเล่นกีฬาในเวลาว่างเพื่อให้มีสุขภาพที่ดี แข็งแรง การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ นับเป็นโอกาสดีที่มีการประสานความร่วมมือกันในการขับเคลื่อนการเสริมสร้างสุขภาพเด็กวัยเรียนและเยาวชน ด้วยการจัดกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ คือ การเล่นกีฬาอันเป็นการสานพลังพัฒนาและดำเนินงานเพื่อให้เกิดการตอบสนองต่อปัญหา และความต้องการด้านสุขภาพของเด็กวัยเรียนและเยาวชนอย่างแท้จริง ข้าพเจ้าในฐานะครูผู้สอนเด็กปอเนาะ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการสร้างเสริมสุขภาพเด็กในช่วงวัยรุ่น โดยมีเป้าหมายเด็กและเยาวชนในปอเนาะจืองาบูลู บ้านดาลอ หมู่ที่ 3 ต.มะนังยง อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี เพื่อพัฒนาความสามารถด้านกีฬาให้ดียิ่งขึ้น แทนที่จะใช้เวลาไปกับอบายมุขต่างๆ ทำให้เสียเวลาเสียโอกาสที่ดีแก่ชีวิต และหากได้รับการสนับสนุนให้ฝึกฝนจนมีความสามารถในการแข่งขัน ก็สามารถสร้างชื่อเสียงให้แก่สถาบันหรือประเทศชาติได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กปอเนาะมีสมรรถภาพทางกายด้านความอดทนของระบบหัวใจและไหลเวียนเลือดในระดับดึ
  2. เพื่อให้เด็กปอเนาะมีความเสี่ยงด้วยโรคอ้วนลงพุงลดลง
  3. เพื่อให้เด็กปอเนาะมีความเสี่ยงด้วยโรคความดันเบาหวาน ลดลง
  4. เพื่อเพิ่มจำนวนการมีและใช้มาตรการเพื่อควบคุมยาสูบในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงานเพื่อกำหนดข้อตกลง และรูปแบบการดำเนินงาน
  2. จัดกิจกรรมส่งเสริมความรู้และฝึกทักษะส่งเสริมสุขภาพด้านกีฬา
  3. ประเมิน และติดตามสุขภาพหลังดำเนินกิจกรรม
  4. ประชุมคณะทำงานเพื่อกำหนดข้อตกลง และรูปแบบการดำเนินงาน
  5. จัดกิจกรรมส่งเสริมความรู้และฝึกทักษะส่งเสริมสุขภาพด้านกีฬา
  6. ประเมิน และติดตามสุขภาพหลังดำเนินกิจกรรม
  7. ประเมิน และติดตามสุขภาพหลังดำเนินกิจกรรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มเป้าหมายสุขภาพร่างกายแข็งแรง 2.กลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจในระดับดี 3.โครงการนี้สามารถขยายกลุ่มสู่เยาวชนในพื้นที่ 4.มีชมรมสร้างสุขภาพในกลุ่มเยาวชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กปอเนาะมีสมรรถภาพทางกายด้านความอดทนของระบบหัวใจและไหลเวียนเลือดในระดับดึ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของเด็กปอเนาะมีสมรรถภาพทางกายด้านความอดทนของระบบหัวใจและไหลเวียนเลือดในระดับดึขึ้นไป
60.00

 

2 เพื่อให้เด็กปอเนาะมีความเสี่ยงด้วยโรคอ้วนลงพุงลดลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 10 ของเด็กปอเนาะมีความเสี่ยงด้วยโรคอ้วนลงพุง
10.00

 

3 เพื่อให้เด็กปอเนาะมีความเสี่ยงด้วยโรคความดันเบาหวาน ลดลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 10 ของเด็กปอเนาะมีความเสี่ยงด้วยโรคความดันเบาหวาน
10.00

 

4 เพื่อเพิ่มจำนวนการมีและใช้มาตรการเพื่อควบคุมยาสูบในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการเพื่อควบคุมยาสูบในชุมชน
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กปอเนาะมีสมรรถภาพทางกายด้านความอดทนของระบบหัวใจและไหลเวียนเลือดในระดับดึ (2) เพื่อให้เด็กปอเนาะมีความเสี่ยงด้วยโรคอ้วนลงพุงลดลง (3) เพื่อให้เด็กปอเนาะมีความเสี่ยงด้วยโรคความดันเบาหวาน ลดลง (4) เพื่อเพิ่มจำนวนการมีและใช้มาตรการเพื่อควบคุมยาสูบในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานเพื่อกำหนดข้อตกลง และรูปแบบการดำเนินงาน (2) จัดกิจกรรมส่งเสริมความรู้และฝึกทักษะส่งเสริมสุขภาพด้านกีฬา (3) ประเมิน และติดตามสุขภาพหลังดำเนินกิจกรรม (4) ประชุมคณะทำงานเพื่อกำหนดข้อตกลง และรูปแบบการดำเนินงาน (5) จัดกิจกรรมส่งเสริมความรู้และฝึกทักษะส่งเสริมสุขภาพด้านกีฬา (6) ประเมิน และติดตามสุขภาพหลังดำเนินกิจกรรม (7) ประเมิน และติดตามสุขภาพหลังดำเนินกิจกรรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเด็กปอเนาะด้วยกีฬา อบต.มะนังยง ปี 2567 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3046-02-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางรอหานี เจะมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด