กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการขยะแลกไข่
รหัสโครงการ 67-L3350-02-16
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมกำนันผู้ใหญ่บ้านตำบลควนมะพร้าว
วันที่อนุมัติ 29 เมษายน 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 43,700.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอุทัย ขุนแดง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ศาลาหมู่บ้านหมู่ที่1 - 16 ตำบลควนมะพร้าว อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ตำบลควนมะพร้าวรู้จักการคัดแยกขยะได้ถูกต้องตามหลักวิชาการ
3,254.00
2 เพื่อสร้างความตระหนักไห้ประชาชนและหน่วยงานต่างๆในพื้นที่ตำบลควนมะพร้าวรู้จักการคัดแยกขยะ
4,567.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ตำบลควนมะพร้าวรู้จักการคัดแยกขยะได้ถูกต้องตามหลักวิชาการ

ประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมฯ สามรถแยกขยะได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ

3254.00 9000.00
2 เพื่อสร้างความตระหนักไห้ประชาชนและหน่วยงานต่างๆในพื้นที่ตำบลควนมะพร้าวรู้จักการคัดแยกขยะ

ประชาชนและหน่วยงานต่างๆในพื้นที่ตำบลควนมะพร้าวมีการคัดแยกขยะ

4567.00 8000.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
13 - 31 พ.ค. 67 ประชาสัมพันธ์โครงการ รอบที่ 1 0 2,950.00 -
7 - 14 มิ.ย. 67 นำขยะมาแลกไข่ รอบที่ 1 0 20,500.00 -
1 ส.ค. 67 - 5 ก.ย. 67 ประชาสัมพันธ์โครงการ รอบที่ 2 0 2,350.00 -
6 - 13 ก.ย. 67 นำขยะมาแลกไข่ รอบที่ 2 0 17,900.00 -
รวม 0 43,700.00 0 0.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถคัดแยกขยะครัวเรือนเพื่อลดปริมาณขยะที่ต้องกำจัด ร้อยละ 50
  2. เกิดการมีส่วนร่วมระหว่างประชาชนในชุมชน ภาครัฐ สามารถมีความรู้ ความเข้าใจอย่างแท้จริงถึงประเภทของขยะต่างๆ และคัดแยกขยะได้อย่างถูกวิธี
  3. ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ลดความรำคาญต่อชุมชน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 ก.พ. 2567 13:53 น.