กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังยง


“ โครงการชุมชนร่วมใจ เครือข่ายร่วมสร้าง RDU คู่ร้านชำคุณภาพ ประจำปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนิรินทรา ภัยชำนาญ

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนร่วมใจ เครือข่ายร่วมสร้าง RDU คู่ร้านชำคุณภาพ ประจำปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3046-01-07 เลขที่ข้อตกลง 07/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนร่วมใจ เครือข่ายร่วมสร้าง RDU คู่ร้านชำคุณภาพ ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนร่วมใจ เครือข่ายร่วมสร้าง RDU คู่ร้านชำคุณภาพ ประจำปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนร่วมใจ เครือข่ายร่วมสร้าง RDU คู่ร้านชำคุณภาพ ประจำปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3046-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะโลกไร้พรมแดนในปัจจุบันจะเห็นได้ว่า ผลิตภัณฑ์สุขภาพทั้งในและนอกประเทศ สามารถเข้าถึงยังผู้บริโภคในทุกระดับได้อย่างง่าย ทั้งชุมชนเมืองไปจนกระทั่งเขตชนบท การสื่อสารมวลชนเข้ามามีบทบาทอย่างมากในกระบวนการตลาด การโฆษณาประชาสัมพันธ์ จะยิ่งส่งเสริมการบริโภคในสังคมอย่างมาก ทำให้ผู้บริโภคเกิดความต้องการที่จะบริโภคเกินกว่าความต้องการที่แท้จริง ไม่ว่าจะเป็นการบริโภคอาหารหรือยาอย่างฟุ่มเฟือย ทำให้มูลค่าการใช้ยาของประเทศไทยมีแนวโน้มสูงขึ้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ถือเป็นหน่วยบริการภาครัฐที่อยู่ใกล้ชิดชุมชนในระดับต้นๆหากบุคลากรผู้ปฏิบัติงาน สามารถดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข (คบส.)ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก็จะมีส่วนช่วยให้ผู้ป่วยและผู้บริโภคในชุมชน ได้รับความปลอดภัยจากการบริโภคยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพต่างๆ รวมทั้งยังสามารถส่งเสริมให้ผู้บริโภคมีภูมิต้านทานในการบริโภค ไม่ให้ถูกหลอกลวงจากผลิตภัณฑ์หรือบริการต่างๆที่ไม่เหมาะสมได้อีกด้วย จากการสำรวจปัญหาในชุมชนที่เกี่ยวกับงาน คบส. คปสอ.ยะหริ่ง ปี 2561 พบว่า ปัญหาที่พบมากที่สุดเรียงลำดับได้ ดังนี้ (1) ร้านชำจำหน่ายอาหารพร้อมบริโภคไม่มีเลข อย./วัน เดือน ปี ผลิต หมดอายุ คิดเป็น ร้อยละ 100 ของปัญหาทั้งหมด นั่นคือ ทุกตำบลในอำเภอยะหริ่งพบปัญหาเดียวกันนี้ (2) ผู้ประกอบการไม่มีองค์ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ คิดเป็น ร้อยละ 83.3 (3) ร้านชำจำหน่ายยาอันตราย/ยาชุด/ยาปฏิชีวนะในชุมชน คิดเป็น ร้อยละ 77.8(4) ร้านชำจำหน่ายอาหารที่ไม่มีฉลาก/เครื่องหมาย อย คิดเป็น ร้อยละ 50 (5) ร้านชำจำหน่ายอาหารนำเข้าจากมาเลเซีย เป็นต้น จากปัญหาข้างต้นจะเห็นได้ว่าร้านชำเป็นหนึ่งในแหล่งกระจายผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ปลอดภัยในชุมชน และมีผลต่อผู้บริโภคในชุมชน เนื่องจากสะดวก มีความคุ้นเคย จึงจำเป็นต้องสร้างความตระหนักรู้แก่ผู้ประกอบการร้านชำและประชาชนให้มีองค์ความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคเชื่อมต่อกับการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (Rational Drug Use : RDU) โดยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายในชุมชน เพื่อให้ประชาชนได้รับความปลอดภัยจากการบริโภคยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างปลอดภัย อีกทั้ง ส่งผลให้ชุมชนสามารถจัดการตนเองด้านงานคุ้มครองผู้บริโภค ตามสโลแกนงานคุ้มครองผู้บริโภค คปสอ.ยะหริ่ง ที่ว่า “ผู้บริโภคยุคใหม่ รู้ซื้อ รู้ใช้ รู้ระวังภัย ผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน”

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ผู้ประกอบการร้านชำ และ อสม. ได้เข้าร่วมการอบรม
  2. ร้านชำได้รับการประเมินตามเกณฑ์มาตรฐาน
  3. ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้รับการเยี่ยมบ้านเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. พัฒนาร้านชำต้นแบบในชุมชน ตามเกณฑ์คุณภาพ
  2. เยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน 10 ราย
  3. กิจกรรมลงพื้นที่สำรวจเฝ้าระวัง การขายยาอันตรายในร้านชำทั้งหมดในชุมชน
  4. 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านชำและ อสม.
  5. คืนข้อมูลผลการดำเนินงานแก่เครือข่ายในชุมชน
  6. กิจกรรมลงพื้นที่สำรวจเฝ้าระวัง การขายยาอันตรายในร้านชำทั้งหมดในชุมชน
  7. เยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน 10 ราย
  8. คืนข้อมูลผลการดำเนินงานแก่เครือข่ายในชุมชน
  9. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคเชื่อมโยงร้านชำคุณภาพ รวมถึงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล แก่ผู้ประกอบการร้านชำ , อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน
  10. พัฒนาร้านชำต้นแบบในชุมชน ตามเกณฑ์คุณภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 10
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ประกอบการร้านชำ อสม. มีความรู้เกี่ยวกับองค์ความรู้ด้านคุ้มครองผู้บริโภค การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ อาหาร และยาที่ปลอดภัย
  2. ร้านชำในตำบล ปลอดยาอันตรายและผลิตภัณฑ์สุขภาพอันตราย
  3. ผู้ประกอบการร้านชำ และ อสม. สามารถเผยแพร่ความรู้ด้านคุ้มครองผู้บริโภค การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ อาหาร และยาที่ปลอดภัย แก่ประชาชนได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ผู้ประกอบการร้านชำ และ อสม. ได้เข้าร่วมการอบรม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้ประกอบการร้านชำ และ อสม. ได้เข้าร่วมการอบรม
100.00

 

2 ร้านชำได้รับการประเมินตามเกณฑ์มาตรฐาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ร้านชำได้รับการประเมินตามเกณฑ์มาตรฐาน
100.00

 

3 ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้รับการเยี่ยมบ้านเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้รับการเยี่ยมบ้านเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพจากการสุ่ม
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 10
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 10
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ผู้ประกอบการร้านชำ และ อสม. ได้เข้าร่วมการอบรม (2) ร้านชำได้รับการประเมินตามเกณฑ์มาตรฐาน (3) ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้รับการเยี่ยมบ้านเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) พัฒนาร้านชำต้นแบบในชุมชน ตามเกณฑ์คุณภาพ (2) เยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน 10 ราย (3) กิจกรรมลงพื้นที่สำรวจเฝ้าระวัง การขายยาอันตรายในร้านชำทั้งหมดในชุมชน (4) 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านชำและ อสม. (5) คืนข้อมูลผลการดำเนินงานแก่เครือข่ายในชุมชน (6) กิจกรรมลงพื้นที่สำรวจเฝ้าระวัง การขายยาอันตรายในร้านชำทั้งหมดในชุมชน (7) เยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน 10 ราย (8) คืนข้อมูลผลการดำเนินงานแก่เครือข่ายในชุมชน (9) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคเชื่อมโยงร้านชำคุณภาพ รวมถึงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล แก่ผู้ประกอบการร้านชำ , อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน (10) พัฒนาร้านชำต้นแบบในชุมชน ตามเกณฑ์คุณภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนร่วมใจ เครือข่ายร่วมสร้าง RDU คู่ร้านชำคุณภาพ ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3046-01-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนิรินทรา ภัยชำนาญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด