กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง


“ โครงการอบรมให้ความรู้ทางด้านสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงก่อนวันละศีลอด ”

ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายฝีอี เบ็ญก็เด็ม

ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้ทางด้านสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงก่อนวันละศีลอด

ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5273-2-1 เลขที่ข้อตกลง 2/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 10 มีนาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมให้ความรู้ทางด้านสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงก่อนวันละศีลอด จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้ทางด้านสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงก่อนวันละศีลอด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้ทางด้านสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงก่อนวันละศีลอด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5273-2-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 กุมภาพันธ์ 2567 - 10 มีนาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เดือนรอมฎอนหรือช่วงถือศีลอด เป็นช่วงที่ชาวไทยมุสลิมได้ปฏิบัติตามศาสนปฏิบัติ ซึ่งตามความหมายของศาสนาอิสลาม คือ การงดเว้นการกินอาหารเครื่องดื่มทุกชนิด รวมไปถึงงดการกระทำที่ไม่เกิดประโยชน์หรือการกระทำที่ขัดกับคุณธรรม ตั้งแต่ดวงอาทิตย์ขึ้น จนถึงดวงอาทิตย์ตกต่อเนื่องเป็นเวลา 1 เดือน ซึ่งช่วงเวลาที่อดอาหาร อดน้ำ ในแต่ละวัน และพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่แตกต่างกันของแต่ละคน อาจทำให้ช่วงเวลาถือศีลอดยาวนานได้ตั้งแต่ 13 ถึง 20 ชั่วโมงต่อวัน เป็นเช่นนี้ต่อเนื่องกันไป 29-30 วัน เมื่อร่างกายจะต้องงดอาหารและน้ำ ที่มนุษย์บริโภคเข้าไปในทุกวันนั้นย่อมส่งผลต่อระบบร่างกาย จึงอาจมีผลกระทบต่อสุขภาพโดยเฉพาะผู้ป่วยโรคเรื้อรัง หรือผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงที่ต้องเฝ้าระวังการเกิดโรค ซึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงที่ต้องมีการรับประทาน ยาหรือรักษาต่อเนื่อง เป็นกลุ่มที่ควรได้รับความรู้และการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องในช่วงการละศีลอด การดูแลสุขภาพระหว่างการถือศีลอดในการกินอาหารเพื่อสุขภาพในช่วงถือศีลอด เช่น หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีรสจัด ทั้งประเภทหวาน มัน เค็ม อาหารที่มีไขมันสูง หลีกเลี่ยงอาหารที่มีรสเค็มจัด เพราะจะทำให้กระหายน้ำได้ระหว่างการถือศีลอดในตอนกลางคืน เป็นต้น และที่สำคัญผู้ป่่วยที่ต้องกินยาในช่วงถือศีลอด หรือการปรับลดการกินยาที่ควรปรึกษาแพทย์ก่อนไม่ควรงดยาเอง เพราะอาจจะส่งผลกระทบต่อการรักษาในอนาคต โดยเฉพาะโรคที่ควรหลีกเลี่ยงการถือศีลอด ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคไต ผู้ป่วยผ่่าตัดเปลี่ยนไต หรือนิ่วที่ไต โรคปอดและหัวใจที่รุนแรง โรคกระเพาะ โรคลมชัก และโรคไม่เกรน ซึ่งหากผู้ป่วยที่มีโรคเรื้อรังที่ตั้งใจจะถือศีลอด ควรแจ้งให้แพทย์ที่รักษาเป็นประจำได้ทราบล่วงหน้าก่อนที่จะเริ่มถือศีลอดเพื่อขอคำแนะนำในการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้อง หมั่งสังเกตความผิดปกติของร่างกายเพื่อการตรวจรักษาได้ทันเวลา ดังนั้น เพื่อเป็นการดูแลสุขภาพ ป้องกันโรค และป้องกันการเจ็บป่วยที่อาจจะเปิดขึ้น พร้อมทั้งป้องกันผลกระทบต่อการปฏิบัติตามศาสนบัญญัติในประชาชนกลุ่มเสี่ยง คณะกรรมการมัสยิดประจำตำบลฉลุง (หมู่ที่ 1,2,7) จึงได้จัดทำโครงการอบรมให้ความรู้ทางด้านสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงก่อนวันละศีลอด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อ 1.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจในการใช้ยาในช่วงเดือนรอมฏอน
  2. ข้อ 2.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจเตรียมความพร้อมเกี่ยวกับการบริโภคอาหารระหว่างการถือศีลอด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ
  2. อบรมเชิงปฏิบัติในการสาธิต
  3. อบรมให้ความรู้
  4. การสาธิตการเลือกวัตถุดิบอาหาร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่ต้องกินยารักษาโรค ได้มีความรู้ความเข้าใจในช่วงวันละศีลอด หรือเดือนรอมฏอนได้อย่างถูกต้อง ไม่ส่งผลกระทบต่อร่างกาย 2.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้มีความรู้ ความเข้าใจในการเตรียมความพร้อมเกี่ยวกับวิธีการ และการเลือกบริโภคอาหารในช่วงระหว่างการถือศีลอด ที่ทำให้มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง บริโภคอาหารได้ครบ 5 หมู่ 3.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการส่งเสริมการดูแลสุขภาพและป้องกันการเจ็บป่วยในระหว่างถือศีลอด


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อ 1.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจในการใช้ยาในช่วงเดือนรอมฏอน
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้มีความรู้ที่ถูกต้องในการใช้ยาในช่วงเดือนรอมฏอน

 

2 ข้อ 2.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจเตรียมความพร้อมเกี่ยวกับการบริโภคอาหารระหว่างการถือศีลอด
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ที่ถูกต้องในการเลือกบริโภคอาหารระหว่างการถือศีลอด

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อ 1.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้  ความเข้าใจในการใช้ยาในช่วงเดือนรอมฏอน (2) ข้อ 2.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจเตรียมความพร้อมเกี่ยวกับการบริโภคอาหารระหว่างการถือศีลอด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ (2) อบรมเชิงปฏิบัติในการสาธิต (3) อบรมให้ความรู้ (4) การสาธิตการเลือกวัตถุดิบอาหาร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมให้ความรู้ทางด้านสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงก่อนวันละศีลอด จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5273-2-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายฝีอี เบ็ญก็เด็ม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด