ส่งเสริมการออกกำลังกายในกลุ่มเสี่ยง NCDs ในตำบลป่าร่อน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ส่งเสริมการออกกำลังกายในกลุ่มเสี่ยง NCDs ในตำบลป่าร่อน ”
ตำบลป่าร่อน อำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
หัวหน้าโครงการ
นางประภา สุขแสน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าร่อน
สิงหาคม 2567
ชื่อโครงการ ส่งเสริมการออกกำลังกายในกลุ่มเสี่ยง NCDs ในตำบลป่าร่อน
ที่อยู่ ตำบลป่าร่อน อำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัด สุราษฎร์ธานี
รหัสโครงการ 67-ข-039 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 มีนาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"ส่งเสริมการออกกำลังกายในกลุ่มเสี่ยง NCDs ในตำบลป่าร่อน จังหวัดสุราษฎร์ธานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าร่อน อำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าร่อน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมการออกกำลังกายในกลุ่มเสี่ยง NCDs ในตำบลป่าร่อน
บทคัดย่อ
โครงการ " ส่งเสริมการออกกำลังกายในกลุ่มเสี่ยง NCDs ในตำบลป่าร่อน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลป่าร่อน อำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี รหัสโครงการ 67-ข-039 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 มีนาคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าร่อน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
- เพื่อเพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน
- เพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะทำงาน
- อบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยง
- กิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายในกลุ่มเสี่ยง
- แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และติดตามผลครั้งที่ 1
- ประชุมติดตาม ครั้งที่ 2
- สรุปและประเมินผลการดำเนินโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- มีพื้นที่สาธารณะสำหรับการออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้น
- กลุ่มเสี่ยงมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น
- เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อรังรายใหม่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมคณะทำงาน
วันที่ 1 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดประชุมคณะทำงานเพื่อหากลุ่มเป้าหมาย เพื่อสร้างการรับรู้กระบวนการขั้นตอนการดำเนินโครงการ โดยคณะทำงานนางประภา สุขแสน นางเพ็ญประภา อินทเสน นางพรรณิภา อินเกื้อ นายคารม สองวิหค นางกัญญารัตน์ เศวตเวช ชี้แจงความเป็นมาของโครงการ ร่วมหาแนวทางในการดำเนินกิจกรรม ซึ่งมติในที่ประชุมได้กำรูปแบบการจัดจิกรรมทางกายที่เหมาะสมโดยการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า ในกลุ่มเสี่ยงNCDs ได้แก่กลุ่มเสี่ยงน้อย เสี่ยงปานกลาง และเสี่ยงมาก ณ ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลป่าร่อน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- มีคณะกรรมการดำเนินโครงการ ได้แก่ นางประภา สุขแสน นางเพ็ญประภา อินทเสน นางพรรณิภา อินเกื้อ นายคารม สองวิหค นางกัญญารัตน์ เศวตเวช และผู้ขับเคลื่อน จำนวน 15 คน
- ผู้เข้าร่วมได้ทราบความเป็นมาของโครงการ และร่วมหาแนวทางในการดำเนินกิจกรรม ซึ่งมติในที่ประชุมได้กำรูปแบบการจัดจิกรรมทางกายที่เหมาะสมโดยการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า
- ได้เป้าหมายในการดำเนินกิจกรรม คือกลุ่มเสี่ยงNCDs จำนวน 50 คน
- ได้รูปแบบการจัดจิกรรมทางกายที่เหมาะสมโดยการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า ที่เหมาะสมกับทุกวัย
20
0
2. อบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยง
วันที่ 10 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- มีการจัดทำข้อมูลสุขภาพ และทะเบียนฐานข้อมูลสุขภาพ โดยการประเมินภาวะสุขภาพ เช่น การวัดความดันโลหิต วัดรอบเอว ชั่งน้ำหนัก คำนวณดัชนีมวลกาย ก่อนการอบรม
- จัดอบรมกลุ่มเสี่ยง NCDs เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อไม่เรื้อรัง NCDs การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ตามหลัก 3อ 2ส จำนวน 50 คน ณ อาคารอเนกประสงค์โรงเรียนวัดวังไทร เวลา 08.30 - 16.30 น.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- มีทะเบียนฐานข้อมูลสุขภาพของกลุ่มเสี่ยง
- ได้มีการประเมินภาวะสุขภาพ เช่น วัดความดันโลหิต วัดรอบเอว ชั่งน้ำหนัก คำนวณดัชนีมวลกาย ซึ่งพบว่ากลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่อยูู่ในกลุ่มเสี่ยน้อย และเสี่ยงปานกลาง
- กลุ่มเสี่ยง NCDs มีความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อไม่เรื้อรัง NCDs การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ตามหลัก 3อ 2ส
50
0
3. กิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายในกลุ่มเสี่ยง
วันที่ 16 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดกิจกรรมออกกำลังกายในกลุ่มเสี่ยง NCDs ในตำบลป่าร่อน โดยการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า ตั้งแต่เวลา 16.00 - 17.00 น. ในวันจันทร์ พุธ ศุกร์ สัปดาห์ละ 3 วันต่อสัปดาห์ ตั้งแต่เดือน พฤษภาคม - กรกฎาคม 2567 เป็นเวลา 3 เดือน ณ องค์การบริหารส่วนตำบลป่าร่อน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- กลุ่มเสี่ยง NCDs ในตำบลป่าร่อน ได้ออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า
- ผู้เข้าร่วมได้ออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้น
- ได้วัสดุ/อุปกรณ์สำหรับออกกำลังกาย คือผ้าขาวม้า
50
0
4. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และติดตามผลครั้งที่ 1
วันที่ 12 มิถุนายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดย กรรมการ 5 คน ได้แก่ นางประภา สุขแสน นางเพ็ญประภา อินทเสน นางพรรณิพา อินเกื้อ นายคารม สองวิหค และนางกัญญารัตน์ เศวตเวช พร้อมด้วยผู้ขับเคลื่อนโครงการ จำนวน 15 คน จัดประชุม ครั้งที่ 1 เดือน มิถุนายน 2567 และครั้งที่ 2 เดือนกรกฎาคม 2567 โดยผลการดำเนินกิจกรรมการออกกำลังกาย คือ มีการออกกำ่ลังกาย ทุกวันจันทร์ พุธ ศุกร์ ด้วยการใช้ผ้าขาวม้า ผู้เข้าร่วมประชุมกล่าวว่า ก่อนหน้าไม่ได้ออกกำลังกายเลย แต่พอมีโครงการได้มีการออกกำลังกายเป็นประจำ ร่างกายกะปรี้กะเปร่า นอนหลับดี อารมณ์แจ่มใส คลายเครียด ได้พบปะเพื่อนๆ เวลามาออกกำลังกาย อยากให้จัดกิจกรรมนี้ตลอด อยากให้ต่อเนื่อง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ได้ติดตามผลการดำเนินการออกกำลังกายโดยคณะทำงาน และผู้ขับเคลื่อนโครงการ
- ได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นถึงประโยชน์ของการออกกำลังกาย
- ได้สรุปผลการดำเนินโครงการ พบว่า หลังจากได้รับความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ 2 ส และมีการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้าเป็นประจำทุกวันจันทร์ พุธ ศุกร์ เป็นเวลา 3 เดือน ทำให้ผู้เข้าร่วมโครงการน้ำหนักลดลง 0.5 - 1 กิโลกรัม รอบเอวลดลง ความเครียดลดน้อยลง นอนหลับดีขั้น สบายตัว ไม่ปวดไม่เมื่่อยตามร่างกาย และอยากให้จัดกิจกรรมออกกำลังกายเป็นประจำ ต่อเนื่อง ให้เกิดความยั่งยืนต่อไป
- ได้ทราบปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินกิจกรรม พบว่าอยากให้จัดกิจกรรมออกกำลังกายทุกวัน เนื่องจากบางวันกลุ่มเป้าหมายไม่สะสวก ไม่ว่าง แต่จะหาเวลามาร่วมกิจกรรมให้ได้อย่างน้อยสัปดาห์ละ 5 วัน
20
0
5. ประชุมติดตาม ครั้งที่ 2
วันที่ 15 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมคณะทำงาน แกนนำกลุ่มกลไกติดตามผล รวม 20 คน เพื่อติดตามความก้าวหน้าโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จำนวนคนที่ทำตามกติกาเพิ่มขึ้น
จำนวนคนออกกำลังกายสม่ำเสมอ เพิ่มขึ้น
20
0
6. สรุปและประเมินผลการดำเนินโครงการ
วันที่ 13 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
กรรมการจำนวน 5คน ประกอบด้วย นางประภา สุขแสน นางเพ็ญประภา อินทเสน นางพรรณิภา อินเกื้อ นายคารม สองวิหค นางกัญญารัตน์ เศวตเวช และผู้ขับเคลื่อนโครงการจำนวน 15 คน ประชุมเพื่อสรุปผลการดำเนินโครงการ ณ ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลป่าร่อน เวลา 13.00 - 16.00 น. โดยการสรุปผลข้อมูลสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย พบว่า หลังจากได้รับความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ 2 ส และมีการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้าเป็นประจำทุกวันจันทร์ พุธ ศุกร์ เป็นเวลา 3 เดือน ทำให้ผู้เข้าร่วมโครงการน้ำหนักลดลง 0.5 - 1 กิโลกรัม รอบเอวลดลง ความเครียดลดน้อยลง นอนหลับดีขั้น สบายตัว ไม่ปวดไม่เมื่่อยตามร่างกาย และอยากให้จัดกิจกรรมออกกำลังกายเป็นประจำ ต่อเนื่อง ให้เกิดความยั่งยืนต่อไป
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.กลุ่มเป้าหมายปฏิบัติตามกิติกาสม่ำเสมอ 39 คน ร้อยละ 78
2. กลุ่มเป้าหมายมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น 48 คน ร้อยละ 96
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
74.77
80.00
2
เพื่อเพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน
56.07
60.00
3
เพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
100.00
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
0
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่ (2) เพื่อเพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน (3) เพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน (2) อบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยง (3) กิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายในกลุ่มเสี่ยง (4) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และติดตามผลครั้งที่ 1 (5) ประชุมติดตาม ครั้งที่ 2 (6) สรุปและประเมินผลการดำเนินโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่งเสริมการออกกำลังกายในกลุ่มเสี่ยง NCDs ในตำบลป่าร่อน จังหวัด สุราษฎร์ธานี
รหัสโครงการ 67-ข-039
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางประภา สุขแสน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ส่งเสริมการออกกำลังกายในกลุ่มเสี่ยง NCDs ในตำบลป่าร่อน ”
ตำบลป่าร่อน อำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
หัวหน้าโครงการ
นางประภา สุขแสน
สิงหาคม 2567
ที่อยู่ ตำบลป่าร่อน อำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัด สุราษฎร์ธานี
รหัสโครงการ 67-ข-039 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 มีนาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"ส่งเสริมการออกกำลังกายในกลุ่มเสี่ยง NCDs ในตำบลป่าร่อน จังหวัดสุราษฎร์ธานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าร่อน อำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าร่อน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมการออกกำลังกายในกลุ่มเสี่ยง NCDs ในตำบลป่าร่อน
บทคัดย่อ
โครงการ " ส่งเสริมการออกกำลังกายในกลุ่มเสี่ยง NCDs ในตำบลป่าร่อน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลป่าร่อน อำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี รหัสโครงการ 67-ข-039 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 มีนาคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าร่อน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
- เพื่อเพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน
- เพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะทำงาน
- อบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยง
- กิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายในกลุ่มเสี่ยง
- แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และติดตามผลครั้งที่ 1
- ประชุมติดตาม ครั้งที่ 2
- สรุปและประเมินผลการดำเนินโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- มีพื้นที่สาธารณะสำหรับการออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้น
- กลุ่มเสี่ยงมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น
- เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อรังรายใหม่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมคณะทำงาน |
||
วันที่ 1 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดประชุมคณะทำงานเพื่อหากลุ่มเป้าหมาย เพื่อสร้างการรับรู้กระบวนการขั้นตอนการดำเนินโครงการ โดยคณะทำงานนางประภา สุขแสน นางเพ็ญประภา อินทเสน นางพรรณิภา อินเกื้อ นายคารม สองวิหค นางกัญญารัตน์ เศวตเวช ชี้แจงความเป็นมาของโครงการ ร่วมหาแนวทางในการดำเนินกิจกรรม ซึ่งมติในที่ประชุมได้กำรูปแบบการจัดจิกรรมทางกายที่เหมาะสมโดยการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า ในกลุ่มเสี่ยงNCDs ได้แก่กลุ่มเสี่ยงน้อย เสี่ยงปานกลาง และเสี่ยงมาก ณ ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลป่าร่อน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
20 | 0 |
2. อบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยง |
||
วันที่ 10 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
50 | 0 |
3. กิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายในกลุ่มเสี่ยง |
||
วันที่ 16 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดกิจกรรมออกกำลังกายในกลุ่มเสี่ยง NCDs ในตำบลป่าร่อน โดยการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า ตั้งแต่เวลา 16.00 - 17.00 น. ในวันจันทร์ พุธ ศุกร์ สัปดาห์ละ 3 วันต่อสัปดาห์ ตั้งแต่เดือน พฤษภาคม - กรกฎาคม 2567 เป็นเวลา 3 เดือน ณ องค์การบริหารส่วนตำบลป่าร่อน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
50 | 0 |
4. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และติดตามผลครั้งที่ 1 |
||
วันที่ 12 มิถุนายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดย กรรมการ 5 คน ได้แก่ นางประภา สุขแสน นางเพ็ญประภา อินทเสน นางพรรณิพา อินเกื้อ นายคารม สองวิหค และนางกัญญารัตน์ เศวตเวช พร้อมด้วยผู้ขับเคลื่อนโครงการ จำนวน 15 คน จัดประชุม ครั้งที่ 1 เดือน มิถุนายน 2567 และครั้งที่ 2 เดือนกรกฎาคม 2567 โดยผลการดำเนินกิจกรรมการออกกำลังกาย คือ มีการออกกำ่ลังกาย ทุกวันจันทร์ พุธ ศุกร์ ด้วยการใช้ผ้าขาวม้า ผู้เข้าร่วมประชุมกล่าวว่า ก่อนหน้าไม่ได้ออกกำลังกายเลย แต่พอมีโครงการได้มีการออกกำลังกายเป็นประจำ ร่างกายกะปรี้กะเปร่า นอนหลับดี อารมณ์แจ่มใส คลายเครียด ได้พบปะเพื่อนๆ เวลามาออกกำลังกาย อยากให้จัดกิจกรรมนี้ตลอด อยากให้ต่อเนื่อง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
20 | 0 |
5. ประชุมติดตาม ครั้งที่ 2 |
||
วันที่ 15 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุมคณะทำงาน แกนนำกลุ่มกลไกติดตามผล รวม 20 คน เพื่อติดตามความก้าวหน้าโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจำนวนคนที่ทำตามกติกาเพิ่มขึ้น
|
20 | 0 |
6. สรุปและประเมินผลการดำเนินโครงการ |
||
วันที่ 13 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำกรรมการจำนวน 5คน ประกอบด้วย นางประภา สุขแสน นางเพ็ญประภา อินทเสน นางพรรณิภา อินเกื้อ นายคารม สองวิหค นางกัญญารัตน์ เศวตเวช และผู้ขับเคลื่อนโครงการจำนวน 15 คน ประชุมเพื่อสรุปผลการดำเนินโครงการ ณ ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลป่าร่อน เวลา 13.00 - 16.00 น. โดยการสรุปผลข้อมูลสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย พบว่า หลังจากได้รับความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ 2 ส และมีการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้าเป็นประจำทุกวันจันทร์ พุธ ศุกร์ เป็นเวลา 3 เดือน ทำให้ผู้เข้าร่วมโครงการน้ำหนักลดลง 0.5 - 1 กิโลกรัม รอบเอวลดลง ความเครียดลดน้อยลง นอนหลับดีขั้น สบายตัว ไม่ปวดไม่เมื่่อยตามร่างกาย และอยากให้จัดกิจกรรมออกกำลังกายเป็นประจำ ต่อเนื่อง ให้เกิดความยั่งยืนต่อไป ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.กลุ่มเป้าหมายปฏิบัติตามกิติกาสม่ำเสมอ 39 คน ร้อยละ 78
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่ ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์) |
74.77 | 80.00 |
|
|
2 | เพื่อเพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน |
56.07 | 60.00 |
|
|
3 | เพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน ตัวชี้วัด : ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน |
100.00 | 100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 0 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 0 | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 0 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่ (2) เพื่อเพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน (3) เพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน (2) อบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยง (3) กิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายในกลุ่มเสี่ยง (4) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และติดตามผลครั้งที่ 1 (5) ประชุมติดตาม ครั้งที่ 2 (6) สรุปและประเมินผลการดำเนินโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่งเสริมการออกกำลังกายในกลุ่มเสี่ยง NCDs ในตำบลป่าร่อน จังหวัด สุราษฎร์ธานี
รหัสโครงการ 67-ข-039
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางประภา สุขแสน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......