เพิ่มกิจกรรมทางกายด้วยกีฬาและสันทนาการอย่างต่อเนื่อง โรงเรียนบ้านท่านหญิงวิภา
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ เพิ่มกิจกรรมทางกายด้วยกีฬาและสันทนาการอย่างต่อเนื่อง โรงเรียนบ้านท่านหญิงวิภา ”
โรงเรียนบ้านท่านหญิงวิภา
หัวหน้าโครงการ
นางดวงรัตน์ คงขาว
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะกุกเหนือ
สิงหาคม 2567
ชื่อโครงการ เพิ่มกิจกรรมทางกายด้วยกีฬาและสันทนาการอย่างต่อเนื่อง โรงเรียนบ้านท่านหญิงวิภา
ที่อยู่ โรงเรียนบ้านท่านหญิงวิภา จังหวัด
รหัสโครงการ 67-ข-037 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 มีนาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"เพิ่มกิจกรรมทางกายด้วยกีฬาและสันทนาการอย่างต่อเนื่อง โรงเรียนบ้านท่านหญิงวิภา จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนบ้านท่านหญิงวิภา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะกุกเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
เพิ่มกิจกรรมทางกายด้วยกีฬาและสันทนาการอย่างต่อเนื่อง โรงเรียนบ้านท่านหญิงวิภา
บทคัดย่อ
โครงการ " เพิ่มกิจกรรมทางกายด้วยกีฬาและสันทนาการอย่างต่อเนื่อง โรงเรียนบ้านท่านหญิงวิภา " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนบ้านท่านหญิงวิภา รหัสโครงการ 67-ข-037 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 มีนาคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะกุกเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
- เพื่อเพิ่มการเรียนการสอนในลักษณะ Active learning และ Active play ในโรงเรียนและศูนย์ฯเด็กเล็ก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะทำงานและกลุ่มเป้าหมาย
- อบรมให้ความรู้เรื่องกิจกรรมทางกายที่เหมาะสมอย่างต่อเนื่อง และทดสอบสมรรถภาพทางกายแก่นักเรียน
- ปฏิบัติการกิจกรรมออกกำลังกาย (กิจกรรมเข้าจังหวะตามเสียงเพลง , แอโรบิค , ฮูล่าฮูป )
- กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทดสอบสมรรถภาพ
- ทดสอบสมรรถภาพ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ติดตาม และสรุปผลโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
132
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.นักเรียนโรงเรียนบ้านท่านหญิงวิภาช่วงอายุ 5-17 ปีทุกคนมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสมเพียงพอ
2.นักเรียนมีกิจกรรมการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning) เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่แข็งแรงสมบูรณ์เพิ่มมากขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมคณะทำงานและกลุ่มเป้าหมาย
วันที่ 25 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.คณะทำงานมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน โครงการเพิ่มกิจกรรมทางกายด้วยกีฬาและสันทนาการอย่างต่อเนื่อง ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 24 คน
2.คณะทำงานมีการวางแผนงาน แนวทางในการปฏิบัติงานตามโครงการ
3.มีการมอบหมายงานในการปฏิบัติงานตามโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.คณะทำงานมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินงานตามโครงการ เพิ่มกิจกรรมทางกายด้วยกีฬาและสันทนาการอย่างต่อเนื่อง
2.มีการมอบหมายงาน ตามแผนการปฎิบัติงาน
22
0
2. อบรมให้ความรู้เรื่องกิจกรรมทางกายที่เหมาะสมอย่างต่อเนื่อง และทดสอบสมรรถภาพทางกายแก่นักเรียน
วันที่ 28 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.การอบรมให้ความรู้แก่นักเรียน เรื่องกิจกรรมทางกาย เช่น การออกกำลังกาย การเล่นกีฬา รูปแบบต่างๆ กิจกรรมเข้าจังหวะตามเสียงเพลง การเต้นแอโรบิค ฮูล่าฮูป
2.ให้ความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับการทดสอบสมรรถภาพทางกาย เช่น ความอดทนของระบบไหลเวียนโลหิตและการหายใจ การทดสอบ วิ่งเก็บของ / วิ่ง 50 เมตร , ความแข็งแรงและความทนทานของกล้ามเนื้อ การทดสอบ ยืนกระโดด การลุกนั่ง , การดันพื้น 30 วินาที
ทดสอบด้านความอ่อนตัว เช่นทดสอบ การนั่งงอตัว การวัดแรงบีบมือ มีนักเรียนจำนวน 132 คนเข้าร่วมกิจกรรม ณ อาคารเอนกประสงค์ โรงเรียนบ้านท่านหญิงวิภา
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 โรงเรียนบ้านท่านหญิงวิภา จำนวน 109 คน มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบักิจกรรมทางกายด้วยกีฬาและสันทนาการอย่างต่อเนื่อง
2.นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการทดสอบสมรรถภาพทางกาย และได้รับการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ด้านต่างๆ เช่น ความอดทนของระบบไหลเวียนโลหิตและการหายใจ การทดสอบ วิ่งเก็บของ / วิ่ง 50 เมตร , ความแข็งแรงและความทนทานของกล้ามเนื้อ การทดสอบ ยืนกระโดด ลุกนั่ง , การดันพื้น 30 วินาที ความอ่อนตัว การทดสอบ การนั่งงอตัว การวัดแรงบีบมือ
2.นักเรียนผ่านการทดสอบสมรรถภาพทางกายและผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 109 คน
153
0
3. ปฏิบัติการกิจกรรมออกกำลังกาย (กิจกรรมเข้าจังหวะตามเสียงเพลง , แอโรบิค , ฮูล่าฮูป )
วันที่ 6 มิถุนายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ตั้งแต่วันที่ 6 มิถุนายน 2567 ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2567 นักเรียนโรงเรียนบ้านท่านหญิงวิภา ได้ปฏิบัติกิจกรรมการออกกำลังกาย ได้แก่ กิจกรรมเข้าจังหวะตามเสียงเพลง เต้นแอโรบิค ออกกำลังกายด้วยการหมุนฮูล่าฮูป โดยใช้เวลาหลังจากเข้าแถวเคารพธงชาติ ช่วงเวลาพักกลางวัน คาบเรียนวิชาสุขศึกษาพลศึกษา หรือคาบเรียนกิจกรรมต่างๆ หมุนเวียนกิจกรรมตามความเหมาะสมในแต่ละห้องเรียน สัปดาห์ละ 4 วัน วันละ 1 ชั่วโมง กิจกรรมส่งผลให้นักเรียนมีกิจกรรมทางกายอย่างต่อเนื่อง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 โรงเรียนบ้านท่านหญิงวิภา ได้ปฏิบัติกิจกรรมการออกกำลังกาย กิจกรรมเข้าจังหวะตามเสียงเพลง การเต้นแอโรบิค ออกกำลังกายด้วยการหมุนฮูล่าฮูป สัปดาห์ละ 4 วัน วันละ 1 ชั่วโมง โดยหมุนเวียนกันในแต่ละห้องเรียน จำนวน 132 คน
153
0
4. กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทดสอบสมรรถภาพ
วันที่ 19 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ นักเรียนจำนวน 132 คน กิจกรรมที่ได้ดำเนินการ ได้แก่ ผลที่ได้จากการออกกำลังกายด้วยกิจกรรมเข้าจังหวะตามเสียงเพลง การเต้นแอโรบิค ฮูล่าฮูป การทดสอบสมรรถภาพทางกายของนักเรียนในแต่ละคน
2.นักเรียนแบ่งกลุ่มและร่วมกันสรุปความรู้ที่ได้รับจากการเข้าร่วมกิจกรรม แล้วออกมานำเสนอ แลกเปลี่ยนเรียนรู้หน้าชั้นเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.นักเรียน จำนวน 132 คน ได้ทราบสมรรถภาพทางกายของตนเอง และร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยการแบ่งกลุ่มๆละ 8-10 คน ช่วยกันสรุปถอดบทเรียนประเด็นสำคัญที่ได้จากการทำกิจกรรมในครั้งนี้
2.นำผลที่เกิดจากการปฏิบัติการออกกำลังกายมาร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้และนำไปพัฒนารูปแบบการออกกำลังกายให้เหมาะสมกับตนเอง เช่น
- สามารถใช้เป็นแนวทางและกำหนดรูปแบบวิธีการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับสภาพร่างกายของแต่ละบุคคล
- สามารถนำมาเปรียบเทียบเพื่อประเมินถึงความก้าวหน้าทางด้านสมรรถภาพทางกายได้
- สามารถนำไปวินิจฉัยเบื้องต้น ถึงความบกพร่องทางด้านร่างกาย ที่มีแนวโน้มอาจจะเกิดปัญหาด้านสุขภาพ
- สามารถทราบถึงการพัฒนาของร่างกายในด้านต่าง ๆ
153
0
5. ทดสอบสมรรถภาพ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ติดตาม และสรุปผลโครงการ
วันที่ 26 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
หลังจากได้เข้าโครงการเพิ่มกิจกรรมทางกายโดยการใช้กิจกกรมเสียงเพลงเข้าจังหวะ เต้นแอโรบิค เล่นฮูล่าฮูป ระยะเวลาตั้งแต่ เดือน มิถุนายน - เดือนสิงหาคม ได้ทดสอบสมรรถภาพทางกาย นักเรียน ครั้งที่ 2 โดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว วัดความอ่อนตัว กระโดดไกล วัดแรงบีบมือ ผลปรากฏว่า
1.นักเรียน จำนวน 111 คน คิดเป็นร้อยละ 84.09 ได้ผ่านการทดสอบสมรรถภาพทางร่างกาย
2.นักเรียนจำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 84.09 ทราบผลการพัฒนาสมรรถภาพทางร่างกายของตนเอง
3.นักเรียน จำนวน 111 คน คิดเป็นร้อยละ 84.09 มีสมรรถภาพทางร่างกายดีขึ้น
4.จากการถอดบทเรียน ร่วมกันสรุปประเด็นสำคัญได้ดังนี้ การทำกิจกรรมทางกายอย่างต่อเนื่องฯทำให้มีสุขภาพร่างกายดีขึ้น ร่างกายมีความแข็งแรง มีความยืดหยุ่น ส่งผลต่อสมรรถภาพของหัวใจและหลอดเลือด เลือดสูบฉีดดีขึ้นและยังช่วยเผาผลาญไขมันในร่างกาย เสริมสร้างกล้ามเนื้อ มีภูมิต้านทานโรค และนอนหลับสบาย ฯลฯ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.นักเรียนจำนวน 111 คน คิดเป็นร้อยละ 84.09 ผ่านการทดสอบสมรรถภาพทางร่างกาย จำนวน 2 ครั้ง
2. นักเรียนจำนวน 111 คน คิดเป็นร้อยละ 84.09 มีสมรรถภาพทางกายทางร่างกายดีขึ้น
153
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)
17.86
25.00
2
เพื่อเพิ่มการเรียนการสอนในลักษณะ Active learning และ Active play ในโรงเรียนและศูนย์ฯเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเวลาในโรงเรียนที่มีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning)
14.29
20.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
132
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
132
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น (2) เพื่อเพิ่มการเรียนการสอนในลักษณะ Active learning และ Active play ในโรงเรียนและศูนย์ฯเด็กเล็ก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานและกลุ่มเป้าหมาย (2) อบรมให้ความรู้เรื่องกิจกรรมทางกายที่เหมาะสมอย่างต่อเนื่อง และทดสอบสมรรถภาพทางกายแก่นักเรียน (3) ปฏิบัติการกิจกรรมออกกำลังกาย (กิจกรรมเข้าจังหวะตามเสียงเพลง , แอโรบิค , ฮูล่าฮูป ) (4) กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทดสอบสมรรถภาพ (5) ทดสอบสมรรถภาพ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ติดตาม และสรุปผลโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
เพิ่มกิจกรรมทางกายด้วยกีฬาและสันทนาการอย่างต่อเนื่อง โรงเรียนบ้านท่านหญิงวิภา จังหวัด
รหัสโครงการ 67-ข-037
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางดวงรัตน์ คงขาว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ เพิ่มกิจกรรมทางกายด้วยกีฬาและสันทนาการอย่างต่อเนื่อง โรงเรียนบ้านท่านหญิงวิภา ”
โรงเรียนบ้านท่านหญิงวิภา
หัวหน้าโครงการ
นางดวงรัตน์ คงขาว
สิงหาคม 2567
ที่อยู่ โรงเรียนบ้านท่านหญิงวิภา จังหวัด
รหัสโครงการ 67-ข-037 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 มีนาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"เพิ่มกิจกรรมทางกายด้วยกีฬาและสันทนาการอย่างต่อเนื่อง โรงเรียนบ้านท่านหญิงวิภา จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนบ้านท่านหญิงวิภา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะกุกเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
เพิ่มกิจกรรมทางกายด้วยกีฬาและสันทนาการอย่างต่อเนื่อง โรงเรียนบ้านท่านหญิงวิภา
บทคัดย่อ
โครงการ " เพิ่มกิจกรรมทางกายด้วยกีฬาและสันทนาการอย่างต่อเนื่อง โรงเรียนบ้านท่านหญิงวิภา " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนบ้านท่านหญิงวิภา รหัสโครงการ 67-ข-037 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 มีนาคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะกุกเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
- เพื่อเพิ่มการเรียนการสอนในลักษณะ Active learning และ Active play ในโรงเรียนและศูนย์ฯเด็กเล็ก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะทำงานและกลุ่มเป้าหมาย
- อบรมให้ความรู้เรื่องกิจกรรมทางกายที่เหมาะสมอย่างต่อเนื่อง และทดสอบสมรรถภาพทางกายแก่นักเรียน
- ปฏิบัติการกิจกรรมออกกำลังกาย (กิจกรรมเข้าจังหวะตามเสียงเพลง , แอโรบิค , ฮูล่าฮูป )
- กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทดสอบสมรรถภาพ
- ทดสอบสมรรถภาพ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ติดตาม และสรุปผลโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 132 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.นักเรียนโรงเรียนบ้านท่านหญิงวิภาช่วงอายุ 5-17 ปีทุกคนมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสมเพียงพอ 2.นักเรียนมีกิจกรรมการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning) เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่แข็งแรงสมบูรณ์เพิ่มมากขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมคณะทำงานและกลุ่มเป้าหมาย |
||
วันที่ 25 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.คณะทำงานมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน โครงการเพิ่มกิจกรรมทางกายด้วยกีฬาและสันทนาการอย่างต่อเนื่อง ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 24 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.คณะทำงานมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินงานตามโครงการ เพิ่มกิจกรรมทางกายด้วยกีฬาและสันทนาการอย่างต่อเนื่อง 2.มีการมอบหมายงาน ตามแผนการปฎิบัติงาน
|
22 | 0 |
2. อบรมให้ความรู้เรื่องกิจกรรมทางกายที่เหมาะสมอย่างต่อเนื่อง และทดสอบสมรรถภาพทางกายแก่นักเรียน |
||
วันที่ 28 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.การอบรมให้ความรู้แก่นักเรียน เรื่องกิจกรรมทางกาย เช่น การออกกำลังกาย การเล่นกีฬา รูปแบบต่างๆ กิจกรรมเข้าจังหวะตามเสียงเพลง การเต้นแอโรบิค ฮูล่าฮูป ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 โรงเรียนบ้านท่านหญิงวิภา จำนวน 109 คน มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบักิจกรรมทางกายด้วยกีฬาและสันทนาการอย่างต่อเนื่อง
|
153 | 0 |
3. ปฏิบัติการกิจกรรมออกกำลังกาย (กิจกรรมเข้าจังหวะตามเสียงเพลง , แอโรบิค , ฮูล่าฮูป ) |
||
วันที่ 6 มิถุนายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำตั้งแต่วันที่ 6 มิถุนายน 2567 ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2567 นักเรียนโรงเรียนบ้านท่านหญิงวิภา ได้ปฏิบัติกิจกรรมการออกกำลังกาย ได้แก่ กิจกรรมเข้าจังหวะตามเสียงเพลง เต้นแอโรบิค ออกกำลังกายด้วยการหมุนฮูล่าฮูป โดยใช้เวลาหลังจากเข้าแถวเคารพธงชาติ ช่วงเวลาพักกลางวัน คาบเรียนวิชาสุขศึกษาพลศึกษา หรือคาบเรียนกิจกรรมต่างๆ หมุนเวียนกิจกรรมตามความเหมาะสมในแต่ละห้องเรียน สัปดาห์ละ 4 วัน วันละ 1 ชั่วโมง กิจกรรมส่งผลให้นักเรียนมีกิจกรรมทางกายอย่างต่อเนื่อง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 โรงเรียนบ้านท่านหญิงวิภา ได้ปฏิบัติกิจกรรมการออกกำลังกาย กิจกรรมเข้าจังหวะตามเสียงเพลง การเต้นแอโรบิค ออกกำลังกายด้วยการหมุนฮูล่าฮูป สัปดาห์ละ 4 วัน วันละ 1 ชั่วโมง โดยหมุนเวียนกันในแต่ละห้องเรียน จำนวน 132 คน
|
153 | 0 |
4. กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทดสอบสมรรถภาพ |
||
วันที่ 19 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ นักเรียนจำนวน 132 คน กิจกรรมที่ได้ดำเนินการ ได้แก่ ผลที่ได้จากการออกกำลังกายด้วยกิจกรรมเข้าจังหวะตามเสียงเพลง การเต้นแอโรบิค ฮูล่าฮูป การทดสอบสมรรถภาพทางกายของนักเรียนในแต่ละคน 2.นักเรียนแบ่งกลุ่มและร่วมกันสรุปความรู้ที่ได้รับจากการเข้าร่วมกิจกรรม แล้วออกมานำเสนอ แลกเปลี่ยนเรียนรู้หน้าชั้นเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.นักเรียน จำนวน 132 คน ได้ทราบสมรรถภาพทางกายของตนเอง และร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยการแบ่งกลุ่มๆละ 8-10 คน ช่วยกันสรุปถอดบทเรียนประเด็นสำคัญที่ได้จากการทำกิจกรรมในครั้งนี้ 2.นำผลที่เกิดจากการปฏิบัติการออกกำลังกายมาร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้และนำไปพัฒนารูปแบบการออกกำลังกายให้เหมาะสมกับตนเอง เช่น - สามารถใช้เป็นแนวทางและกำหนดรูปแบบวิธีการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับสภาพร่างกายของแต่ละบุคคล - สามารถนำมาเปรียบเทียบเพื่อประเมินถึงความก้าวหน้าทางด้านสมรรถภาพทางกายได้ - สามารถนำไปวินิจฉัยเบื้องต้น ถึงความบกพร่องทางด้านร่างกาย ที่มีแนวโน้มอาจจะเกิดปัญหาด้านสุขภาพ - สามารถทราบถึงการพัฒนาของร่างกายในด้านต่าง ๆ
|
153 | 0 |
5. ทดสอบสมรรถภาพ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ติดตาม และสรุปผลโครงการ |
||
วันที่ 26 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำหลังจากได้เข้าโครงการเพิ่มกิจกรรมทางกายโดยการใช้กิจกกรมเสียงเพลงเข้าจังหวะ เต้นแอโรบิค เล่นฮูล่าฮูป ระยะเวลาตั้งแต่ เดือน มิถุนายน - เดือนสิงหาคม ได้ทดสอบสมรรถภาพทางกาย นักเรียน ครั้งที่ 2 โดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว วัดความอ่อนตัว กระโดดไกล วัดแรงบีบมือ ผลปรากฏว่า ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.นักเรียนจำนวน 111 คน คิดเป็นร้อยละ 84.09 ผ่านการทดสอบสมรรถภาพทางร่างกาย จำนวน 2 ครั้ง 2. นักเรียนจำนวน 111 คน คิดเป็นร้อยละ 84.09 มีสมรรถภาพทางกายทางร่างกายดีขึ้น
|
153 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน) |
17.86 | 25.00 |
|
|
2 | เพื่อเพิ่มการเรียนการสอนในลักษณะ Active learning และ Active play ในโรงเรียนและศูนย์ฯเด็กเล็ก ตัวชี้วัด : ร้อยละของเวลาในโรงเรียนที่มีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning) |
14.29 | 20.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 132 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 132 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น (2) เพื่อเพิ่มการเรียนการสอนในลักษณะ Active learning และ Active play ในโรงเรียนและศูนย์ฯเด็กเล็ก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานและกลุ่มเป้าหมาย (2) อบรมให้ความรู้เรื่องกิจกรรมทางกายที่เหมาะสมอย่างต่อเนื่อง และทดสอบสมรรถภาพทางกายแก่นักเรียน (3) ปฏิบัติการกิจกรรมออกกำลังกาย (กิจกรรมเข้าจังหวะตามเสียงเพลง , แอโรบิค , ฮูล่าฮูป ) (4) กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทดสอบสมรรถภาพ (5) ทดสอบสมรรถภาพ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ติดตาม และสรุปผลโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
เพิ่มกิจกรรมทางกายด้วยกีฬาและสันทนาการอย่างต่อเนื่อง โรงเรียนบ้านท่านหญิงวิภา จังหวัด
รหัสโครงการ 67-ข-037
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางดวงรัตน์ คงขาว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......