กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาขาว


“ โครงการรู้ก่อนเป็นมะเร็ง(มะเร็งลำไส้ใหญ่เเละลำไส้ตรง) ”

ตำบลเขาขาว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางศศิธร เกตุประกอบ

ชื่อโครงการ โครงการรู้ก่อนเป็นมะเร็ง(มะเร็งลำไส้ใหญ่เเละลำไส้ตรง)

ที่อยู่ ตำบลเขาขาว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ L1527-67-01-02 เลขที่ข้อตกลง 5/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 20 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรู้ก่อนเป็นมะเร็ง(มะเร็งลำไส้ใหญ่เเละลำไส้ตรง) จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาขาว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรู้ก่อนเป็นมะเร็ง(มะเร็งลำไส้ใหญ่เเละลำไส้ตรง)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรู้ก่อนเป็นมะเร็ง(มะเร็งลำไส้ใหญ่เเละลำไส้ตรง) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาขาว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ L1527-67-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 20 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

มะเร็งลำไส้ใหญ่เเละลำไส้ตรงเป็นมะเร็งที่พบบ่อยในประเทศไทย มีเเนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ มะเร็งลำไส้ใหญ่เเละลำไส้ตรง ระยะเริ่มเเรกจะเติบโตช้าทำให้ไม่มีอาการเเต่เมื่อมะเร็งมีขนาดใหญ่ขึ้นหรือลุกลามออกไปนอกลำไส้ใหญ่จึงจะเเสดงอาการ ดังนั้นกว่าจะตรวจวินิจฉัยได้ส่วนใหญ่ก็เป็นระยะท้าย จากรายงานสถิติมะเร็งของประเทศไทยจากสถาบันมะเร็งเเห่งชาติในปีพ.ศ.2563 พบมะเร็งลำไส้ใหญ่เเละลำไส้ตรงเป็นมะเร็งที่พบบ่อยที่สุดในผู้ป่วยเพศชาย รองมาเป็นมะเร็งตับเเละท่อน้ำดี ปอด เเละหลอดลมตามลำดับ สำหรับผู้ป่วยเพศหญิงพบมะเร็งลำไส้ใหญ่เเละลำไส้ตรงเป็นอันดับสอง คิดเป็นร้อยละ 12.2 ของมะเร็งในผู้ป่วยเพศหญิง ภาพรวมอุบัติการมะเร็งลำไส้ใหญ่เเละลำไส้ตรงประเทศไทยในปีพ.ศ.2563 พบผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่เเละลำไส้ตรงรายใหม่ 16.9 คนต่อเเสนประชากร ซึ่งค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับประเทศเเถบเอเชียด้วยกัน นอกจากนี้ย้อนไประยะเวลา 20 ปี พบว่ามีเเนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ร้อยละ 3 จากอุบัติการณ์มะเร็งลำไส้ใหญ่เเละลำไส้ตรงในปี 2543 ซึ่งขณะนั้นพบผู้ป่วยมะเร็งลำไส้รายใหม่เพียง 5 คนต่อเเสนประชากร เเละโครงการคัดกรองมะเร็งลำไส้ด้วยวิธีการตรวจเลือดเเฝงในอุจจาระ(Fecal immunochemical test) ภายใต้เเผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) โรคมะเร็ง กำหนดให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายที่คัดกรองเเล้วมีผลปกติ/ผลลบ (Negative) จะทำการตรวจคัดกรอง 1 ครั้งในรอบ 2 ปีงบประมาณ จากสถานการณ์ของโรคเเนวทางในการดูเเลป้องกันมะเร็งลำไส้เเละลำไส้ตรง เเละจากการสำรวจข้อมูลผู้ป่วยมะเร็งของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบบลเขาขาวในปีงบประมาณ 2566 พบว่ามีผู้ป่วยมะเร็งสำไส้ใหญ่เเละลำไส้ตรงรายใหม่ จำนวน 2 ราย คิดเป็น 64.89 คนต่อเเสนประชากร จากข้อมูลที่กล่าวไว้ข้างต้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาขาว ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการรู้ก่อนเป็นมะเร็ง(มะเร็งลำไส้ใหญ่เเละลำไส้ตรง)ปีงปบระมาณพ.ศ.2567ขึ้น โดยมีเป้ามหมายให้ประชากรกลุ่มอายุ 50 - 70 ปี จำนวน 750 คน (โดยเป้าหมายให้ประชากรกลุ่มอายุ 50 -70 ปีมีทั้งหมด 850 คน เเต่ได้รับการตรวจคัดกรองในปีงบประมาณพ.ศ.2566 ไปเเล้วจำนวน 100 คน) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้เเละได้รับการตรวจคัดกรองเพิ่มมากขึ้นด้วยวิธีการตรวจเลือดเเฝงในอุจจาระ อย่างน้อยร้อยละ 20 เเละถ้ามีผลการตรวจเป็นบวกจะทำให้การยืนยันด้วยการส่องกล้องตรวจลำไส้ใหญ่ โครงการนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการพัฒนาระบบป้องกันเเละควบคุมมะเร็ง โดยใหส้ความสำคัญต่อการตรวจคัดกรองผู้ป่วยมะเร็งในระยะเเรก เพื่อการรักษาเเละป้องกันที่ถูกต้องเเละทันท่วงที ลดอัตราการตายเเละลดการลุกลามมะเร็งลำไส้ใหญ่เพื่อสุขภาพชีวิตที่ดีของประชาชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้แกนนำสุขภาพในชุมชน ได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งลำไส้ตรงและลำไส้ใหญ่ เทคนิค(Fecal immunochemical test)
  2. 2.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายอายุ 50-70ปีได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งลำไส้ตรงและลำไส้ใหญ่ เทคนิคการตรวจเลือดแฝงในอุจจาระ (Fecal immunochemical test)
  3. 3.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจรักษาที่ถูกต้องกรณที่ตรวจพบความผิดปกติ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการแก่แกนนำสุขภาพจัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่แกนนำสุขภาพ ให้ความรู้เกี่ยวกับมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง เทคนิคการตรวจเลือดแฝงในอุจจาระ(Fecal immunochemical test)
  2. กิจกรรมที่ 2 ตรวจภาวะเสี่ยงโรคมะเร็งลำไส้และสำไส้ตรง
  3. กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการ
  4. ให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้และมอบอุปกรณ์อำนวยความสะดวกที่จำเป็น ค่าชุดตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้และลำไส้ตรงชุด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มเป้ามหมายได้รับการคัดกรองพบความผิดปกติเเละได้รับการรักษษตั้งเเต่ระยะเริ่มเเรก 2.ลดค่าใช้จ่ายในการดูเเลระยะยาว ลดอัตราการป่วยเเละตายด้วยโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่เเละลำไส้ตรง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้แกนนำสุขภาพในชุมชน ได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งลำไส้ตรงและลำไส้ใหญ่ เทคนิค(Fecal immunochemical test)
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ที่ถูกต้อง เกี่ยวกับโรคมะเร็งสำไส้ใหญ่และสำไส้ตรงและเทคนิคการตรวจเลือดแฝงในอุจจาระ (Fecal immunochemical test)
90.00

 

2 2.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายอายุ 50-70ปีได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งลำไส้ตรงและลำไส้ใหญ่ เทคนิคการตรวจเลือดแฝงในอุจจาระ (Fecal immunochemical test)
ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละ 20 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งลำไส้ตรงและลำไส้ใหญ่ เทคนิคการตรวจเลือดแฝงในอุจจาระ (Fecal immunochemical test)
20.00

 

3 3.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจรักษาที่ถูกต้องกรณที่ตรวจพบความผิดปกติ
ตัวชี้วัด : 3.ร้อยละ 100 ผู้ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องส่งต่อเพื่อเข้ารับการรักษา
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้แกนนำสุขภาพในชุมชน ได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งลำไส้ตรงและลำไส้ใหญ่ เทคนิค(Fecal immunochemical test) (2) 2.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายอายุ 50-70ปีได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งลำไส้ตรงและลำไส้ใหญ่ เทคนิคการตรวจเลือดแฝงในอุจจาระ (Fecal immunochemical test) (3) 3.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจรักษาที่ถูกต้องกรณที่ตรวจพบความผิดปกติ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการแก่แกนนำสุขภาพจัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่แกนนำสุขภาพ ให้ความรู้เกี่ยวกับมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง เทคนิคการตรวจเลือดแฝงในอุจจาระ(Fecal immunochemical test) (2) กิจกรรมที่ 2 ตรวจภาวะเสี่ยงโรคมะเร็งลำไส้และสำไส้ตรง (3) กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการ (4) ให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้และมอบอุปกรณ์อำนวยความสะดวกที่จำเป็น ค่าชุดตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้และลำไส้ตรงชุด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรู้ก่อนเป็นมะเร็ง(มะเร็งลำไส้ใหญ่เเละลำไส้ตรง) จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ L1527-67-01-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางศศิธร เกตุประกอบ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด