กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำปำ


“ โครงการป้องกันและควบคุมวัณโรค ”

ตำบลลำปำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายสุรพล ทองบุญ

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมวัณโรค

ที่อยู่ ตำบลลำปำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3361-1-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและควบคุมวัณโรค จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำปำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำปำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมวัณโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมวัณโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำปำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 67-L3361-1-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำปำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

วัณโรค(Tuberculosis:TB) เป็นโรคติดต่อที่กำลังเป็นปัญหาสำคัญด้านสาธารณสุข เป็นสาเหตุของการป่วยและการเสียชีวิตในหลายๆประเทศทั่วโลก อีกทั้งปัจจุบันการเเพร่ระบาดของโรคเอดส์ทำให้ปัญหาวัณโรคมีความรุนแรงงเพิ่มขึ้นวัณโรคจึงนับเป็นปัญหาต่อวงการสาธารณสุขของประเทศต่างๆ(กรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข2548)ปัจจุบันทั้งโลกมีผู้ติดเชื้อวัณโรคประมาณ 2 พันล้านคน หรือเกือบ 1 ใน 3 ของประชากรโลก มีผู้ป่วยวัณโรคเสียชีวิต1.90ล้านคนในแต่ละปี การขยายงานในการควบคุมวัณโรคทั้งปัจจัยด้วยผู้ป่วย สิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจเช่นความยากจน การด้อยโอกาสทางการศึกษาชุมชนแออัด ปัญหายาเสพติดแรงงานย้ายถิ่น แรงงานต่างชาติผิดกฎหมาย ความแออัดของผู้ต้องขังในเรือนจำ จากการคำนวณในรายงานขององค์การอนามัยโลกคาดว่า ประเทศไทยน่าจะมีผู้ป่าวรายใหม่ทุกประเภทประมาณ 92,300 คน จำนวนนี้ประมาณครึ่งหนึ่งหรือ 44,475 คน เป็นผู้ป่วยที่สามารถเเพร่เชื่้อได้แบะมีผู้ป่วยวัณโรคเสียชีวิตปีละ12,089 ปี เนื่องจากยังพบว่าผู้ป่วยโรคเอดส์รายใหม่ตรวจพบวัณโรคประมาณร้อยละ 17 ในปี พ.ศ.2553 ประเทศไทยมีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ชนิดเสมะพบเชื้อจำนวน25,966รายรวมผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภทมีจำนวน53,357ราย เสียชีวิต2,548 รายอัตราการตรวจพบผู้ป่วยรายใหม่คิดเป็นร้อยละ69.00 ยังไม่บรรลุเป้าหมายขององค์กรอนามัยโลกมีเป้าหมายอัตราการตรวจผู้ป่วยรายใหม่ อยู่ที่ร้อยละ85.00คนใกล้ชิด มีอัตราความสำเร็จของการรักษาคิดเป็นร้อยละ 83.00 คนยังต่ำกว่าเป้าหมายขององค์การอนามัยโลกที่มีเป้าหมายอัตราความสำเร็จของการรักษาอยู่ที่ร้อยละ87.00 สถานการณ์วัณโรคจังหวัดพัทลุงตั้งแต่ปีงบประมาณ 2557-2564 ผู้ป่วยรายใหม่วัณโรครายใหม่202 ราย คิดเป็นร้อยละ25.7 พบว่าผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ทุกประเภทมีอตราความสำเร็จของการรักษาวัณโรค ร้อยละ 90 ซึ่งได้ตามเกณฑ์เป้าหมาย มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ85 แต่เนื่องจากสถานการณ์ผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาในพื่นที่ตำบลลำปำตั้ฃแต่ปีงบประมาณ2562-2564มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจำนวน3ราย2รายและ3ราย ในปีงบ2566 มีผู้ป่วย3รายอย่างไรก็ตามยังพบว่าความครอบคลุมของการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคใหม่เสมหะพบเชื้อ(TB case detection)ยังไม่บรรลุเป้าหมายของประเทศไทยโดยรวม(ร้อยละ70)ต้องเร่งรัดในการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มประชากรด้วยโอกาสและกลุ่มเสี่ยงต่างๆให้ครอบคลุม รวมทั้งการทำงานแบบผสมผสานวัณโรคและโรคเอดส์อย่างจริงจังเพื่อลดอัตราการตายของผู้ป่วย อีกทั้งป้องกันวัณโรคดื้อยาอีกด้วย อาสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม)เป็นตัวเเทนประชาชนที่ถูกคัดเลือกให้ทำงานด้านสาธารณสุข ปัจจุบันได้รับจากส่วนต่างๆทั้งระดับประเทศและในชุมชนเองเป็นอย่างดีให้เอื้อต่อการป้องกันวัณโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้ง อสม. เป็นแกนนำด้านสุขภาพที่มีความสำคัญในชุมชนต่างๆได้รับการพัฒนาศักยภาพจากหน่วยงานสาธารณสุขต่อเนื่อง อสม.เป็นบุคคลที่อาศัยและทำงานในชุมชนประจำมีระบบเครือญาติและระบบเครือข่ายทางสังคมย่อมมีความคุ้นเคยเข้าใจปัญหาต่างๆในชุมชนการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ภายในกลุ่มระดมความคิดเห็นในการดำเนินงานการร่วมกำหนดบทบาทหน้าที่ของตนเองในการดำเนินงานการฝึกปฎิบัติในชุมชน การติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน โดยกิจกรรมดังกล่าวเป็นเครื่องมือกระตุ้นให้อสม. ในพื้นที่มีความสามารถในการดำเนินงานป้องกันโรคได้ด้วยชชุมชนเองทำให้เกิดความยั่งยืนในการแก้ไขปัญหาวัณโรคขึ้นเพื่อสำรวจกลุ่มเสี่ยงวัณโรค ดังนั้นเพื่อผลสำเร็จในการดำเนินงานวัณโรคดังกล่าวจึงจัดทำโครงการป้องกันและควบคุมวัณโรคขึ้นเพื่อสำรวจกลุ่มเสี่ยงวัณโรคเพื่อให้มีประสิทธิภาพและบรรลุเป้าหมาย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้อสม.และแกนนำมีความรู้ความเข้าใจเรื่องวัณโรคและสามารถคัดกรองผู้ป่วยได้ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.อบรมให้ความรู้อสม.และแกนนำ จำนวน 60 คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 60
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ระบบคุณภาพและการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคในชุมชนได้รับการพัฒนาและมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น 2.อสม.และเเกนนำสามารถค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น 3.ชุมชนมีความตระหนักในการควบคุมป้องกันวัณโรคอย่างจริงจังและต่อเนื่อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้อสม.และแกนนำมีความรู้ความเข้าใจเรื่องวัณโรคและสามารถคัดกรองผู้ป่วยได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : อสม.สามารถอธิบายการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อแก่ผู้ป่วยและผู้ดูแลได้

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 60
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้อสม.และแกนนำมีความรู้ความเข้าใจเรื่องวัณโรคและสามารถคัดกรองผู้ป่วยได้ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.อบรมให้ความรู้อสม.และแกนนำ จำนวน 60 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและควบคุมวัณโรค จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3361-1-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุรพล ทองบุญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด