กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการชุมชนใส่ใจ เฝ้าระวังภัยแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตำบลปากคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ปี 2567
รหัสโครงการ 67-L1535-1-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากคม
วันที่อนุมัติ 22 กุมภาพันธ์ 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 27 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ตุลาคม 2567
งบประมาณ 17,490.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวสิริกุล รักสกุล
พี่เลี้ยงโครงการ นางทัศนีย์ ดำปิน
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปากคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.732,99.607place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
50.00
2 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
50.00
3 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)
30.00
4 ร้อยละของประชาชนที่มีป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูก
10.00
5 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย
10.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สำหรับตำบลปากคม ผลการดำเนินงานโครงการตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อนทางตาและเท้าของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงขาดการคัดกรองโรคต่อเนื่องเป็นระยะเวลา ๓ ปี ล่าสุดปีงบประมาณ ๒๕๖๖ โดยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากคม  มีผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี คิดเป็นร้อยละ 42.64  ได้รับการตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อนจำนวน  272  คน พบผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนทางตาคิดเป็นร้อยละ 64.47  และมีภาวะแทรกซ้อนทางเท้าคิดเป็นร้อยละ 73.60  นอกจากนี้มีผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมโรคไม่ได้ (ค่า HbA1c > ๗ mg%) จำนวน 103  ราย คิดเป็นร้อยละ 69.12  สำหรับผู้ป่วยความดันโลหิตสูงพบว่า มีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี คิดเป็นร้อยละ 58.26  ผุ้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อนทางไตจำนวนคิดเป็นร้อยละ 68.92 ได้รับการคัดกรองโรคหัวใจและหลอดเลือด ( CVD RISK) จำนวน  148  คน คิดเป็นร้อยละ 99.33  พบว่า มีความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดคัดกรอง CVD RISK > ๒๐% จำนวน  149 ราย คิดเป็นร้อยละ 99.33 ถึงแม้ว่าจะมีการเฝ้าระวังคัดกรองโรคอย่างต่อเนื่อง แต่ยังพบว่า มีประชาชนกลุ่มป่วยเบาหวานส่วนหนึ่งที่ยังมีพฤติกรรมไม่ถูกต้องและขาดความตระหนักในการเฝ้าระวังป้องกัน และควบคุมโรคอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรงตามมา

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานลดลง

50.00 10.00
2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงลดลง

50.00 10.00
3 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)

ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA) ลดลง

30.00 5.00
4 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูก

ร้อยละของประชาชนที่มีป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกลดลง

10.00 1.00
5 เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย

ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น  เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย ลดลง

10.00 1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณก.พ. 67มี.ค. 67เม.ย. 67พ.ค. 67มิ.ย. 67ก.ค. 67ส.ค. 67ก.ย. 67
1 กิจกรรมคัดกรองเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนกลุ่มป่วย ดูแล ติดตาม เฝ้าระวังโรคเบื้องต้น ลดการเกิดและการเกิดของโรคไม่ติดต่อและเฝ้าระวังโรคแทรกซ้อนในชุมชน(27 ก.พ. 2567-30 ก.ย. 2567) 14,830.00                
2 ติดตาม/เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน/แจ้งเตือนสภาวะสุขภาพการเกิดโรคและการเฝ้าระวังควบคุมการเกิดภาวะแทรกซ้อนให้กลุ่มป่วยที่ควบคุมโรคไม่ได้ /ส่งต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กรณีควบคุมโรคไม่ได้เกิดภาวะแทรกซ้อน(27 ก.พ. 2567-30 ก.ย. 2567) 2,660.00                
รวม 17,490.00
1 กิจกรรมคัดกรองเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนกลุ่มป่วย ดูแล ติดตาม เฝ้าระวังโรคเบื้องต้น ลดการเกิดและการเกิดของโรคไม่ติดต่อและเฝ้าระวังโรคแทรกซ้อนในชุมชน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 50 14,830.00 0 0.00
27 ก.พ. 67 - 30 ก.ย. 67 เครื่องวัดความดันโลหิตชนิดดิจิตอล ๓ เครื่องเครื่องละ ๒,๕๐๐ บาท 50 7,500.00 -
27 ก.พ. 67 - 30 ก.ย. 67 ค่าจัดซื้อเครื่องเจาะระดับน้ำตาลในเลือด เครื่องละ ๑,๘๐๐ บาท จำนวน ๓ เครื่อง 0 5,400.00 -
27 ก.พ. 67 - 30 ก.ย. 67 กระปุกสำลีจำนวน ๓กระปุกๆละ ๒๕๐ บาท 0 750.00 -
27 ก.พ. 67 - 30 ก.ย. 67 กล่องกระเป๋าจัดเก็บวัสดุอุปกรณ์การ เฝ้าระวังตรวจ คัดกรองโรคในกลุ่มป่วยจำนวน ๓ กล่องๆละ ๒๕๐ บาท 0 750.00 -
27 ก.พ. 67 - 30 ก.ย. 67 แผ่นป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ ๔๓๐ บาท 0 430.00 -
2 ติดตาม/เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน/แจ้งเตือนสภาวะสุขภาพการเกิดโรคและการเฝ้าระวังควบคุมการเกิดภาวะแทรกซ้อนให้กลุ่มป่วยที่ควบคุมโรคไม่ได้ /ส่งต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กรณีควบคุมโรคไม่ได้เกิดภาวะแทรกซ้อน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 2,660.00 0 0.00
27 ก.พ. 67 - 30 ก.ย. 67 นวัตกรรมแบบันทึกติดตามกลุ่มป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน ๑๒๐ ชุดๆละ ๒ บาท 0 240.00 -
27 ก.พ. 67 - 30 ก.ย. 67 บัตรเตือนใจห่วงใยสุขภาพกลุ่มป่วย จำนวน ๑๒๐ ชุดๆ ละ ๑๐ บาท 0 1,200.00 -
27 ก.พ. 67 - 30 ก.ย. 67 แฟ้มเก็บเอกสารจำนวน ๒๐ แฟ้มๆละ ๕๕ บาท 0 1,100.00 -
27 ก.พ. 67 - 30 ก.ย. 67 ค่าปากกาจำนวน ๒๐ ด้ามๆละ ๖ บาท 0 120.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. กลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะแทรกซ้อน ได้รับการดูแลสุขภาพ และส่งต่อเพื่อรักษาอย่างถูกต้อง
๒. แกนนำ อสม.และชุมชนเครือข่ายสุขภาพมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพประชาชน และส่งผลให้กลุ่มเป้าหมาย สามารถควบคุมโรคให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้ ลดการเกิดภาวะโรคแทรก

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 22 ก.พ. 2567 14:09 น.