กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำปำ


“ โครงการควบคุมโรคไข้เลือดออก ดี มีประสิทธิภาพ รพ.สต.บ้านปากประ ”

ตำบลลำปำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายยมนา คงศรี

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมโรคไข้เลือดออก ดี มีประสิทธิภาพ รพ.สต.บ้านปากประ

ที่อยู่ ตำบลลำปำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3361-1-10 เลขที่ข้อตกลง 13/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมโรคไข้เลือดออก ดี มีประสิทธิภาพ รพ.สต.บ้านปากประ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำปำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำปำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมโรคไข้เลือดออก ดี มีประสิทธิภาพ รพ.สต.บ้านปากประ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมโรคไข้เลือดออก ดี มีประสิทธิภาพ รพ.สต.บ้านปากประ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำปำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 67-L3361-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 97,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำปำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข กระทรวงสธารณสุขได้กำหนดเป็นโรคที่เป็นปัญหาเร่งด่วนระดับประเทศและจังหวัดพัทลุงก็ถือว่าเป็นปัญหาอันดับหนึ่ง จากการรายงานโรคในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปากประ คือพื้นที่หมู่ที่ 2,3,8,11 ตำบลลำปำ มีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกใน พ.ศ.2562 พบผู้ป่วย 23รายคิดเป็น792.01 ต่อแสนประชากร ในพ.ศ.2563 พบผู้ป่วย 9รายคิดเป็น 319.35 ต่อเเสนประชากรใน พ.ศ. 2564 พอผู้ป่วย2 รายคิดเป็น 69.06 ต่อเเสนประชากร และพ.ศ. 2565 ไม่พบผู้ป่วยในปี พ.ศ.2566พบผู้ป่วย3 รายคิดเป็น 103.59 ต่อเเสนประชากร ตำบลลำปำเป็นพื้นที่ราบลุ่มมีน้ำขังตลอดปี พื้นที่เกิดโรคคือ หมู่ที่2 บ้านไสยอมหมู่ที่3 บ้านเตาปูน หมู่ที่8 บ้านปากประ และหมู่ที่ 11 บ้านชายคลอง จากข้อมูลการเกิดโรคพบว่าผู้ป่วยเกิดโรคติดต่อกันทุกปี การควบคุมและรณรงค์อย่างเข้มงวดเท่านั้นทำให้ไข้เลือดออกลดลงจนไม่มีคนไข้รายใหม่ และต้องดำเนินการตามหลักการควบควมโรคที่สำคัญจึงจำเป็นต้องมีการควบคุมโรคให้รวดเร็วให้ทันต่อสภาวดารณ์แพร่ระบาดของโรคแต่จากการดำเนินการควบคุมโรคนั้น รพ.สต.บ้านปากประ ยังขาดอุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน คือเครื่องพ้นกำจัดยุงตัวแก่เพื่อตัดวงจรชีวิตของยุงลดการเเพร่เชื้อโรคจากตัวยุงที่อาจจะมีเชื้อและนำไปสู่คนอื่นต่อไป โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปากประ เห็นความสำคัญในเรื่องนี้ จึงได้จัดทำโครงการควบคุมโรคไข้เลือดออก ดี มีประสิทธิ์ภาพ รพ.สต.บ้านปากประ เพื่อจัดซื้อครุภัณฑ์เครื่องพ่นเคมีชนิดละอองฝอย(ULV)สะพายหลัง เพื่อใช้ในการกำจัดยุงตัวแก่ไม่ให้สามารถไปแพร่เชื้อ ซึ่งเป็นวิธีการยับยั้งการเเพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก กรณีที่เกิดโรคระบาดในพื้นที่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อลดการเเพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
  2. 2.เพื่อให้มีเครื่องมือเครื่องใช้ในการปฏิบัติงานควบคุมโรคฯที่พร้อมในการใช้งานอย่างรวดเร็วและทันท่วงที

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.กิจกรรมประชุมชี้แจงโครงการแก่คณะทำงาน
  2. 2.กิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.สามารถควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ 2.มีอุปกรณ์ในการควบคุมโรคได้อย่างทันท่วงที


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อลดการเเพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
ตัวชี้วัด : ไม่มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกรายที่2 ตลอดช่วง4 สัปดาห์ หลังจากกรณีเกิดโรครายเเรกในพื้นที่หมู่บ้านเดียวกัน

 

2 2.เพื่อให้มีเครื่องมือเครื่องใช้ในการปฏิบัติงานควบคุมโรคฯที่พร้อมในการใช้งานอย่างรวดเร็วและทันท่วงที
ตัวชี้วัด : ความรวดเร็วในการออกควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่โดยออกควบคุมโรคด้วยวิธีพ่นสารเคมีกำจัดยุงตัวแก่ภายใน 24 ชั่วโมง หลังได้รับแจ้งการเกิดโรค

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อลดการเเพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ (2) 2.เพื่อให้มีเครื่องมือเครื่องใช้ในการปฏิบัติงานควบคุมโรคฯที่พร้อมในการใช้งานอย่างรวดเร็วและทันท่วงที

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมประชุมชี้แจงโครงการแก่คณะทำงาน (2) 2.กิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการควบคุมโรคไข้เลือดออก ดี มีประสิทธิภาพ รพ.สต.บ้านปากประ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3361-1-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายยมนา คงศรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด