กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหวัง


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากทุกกลุ่มวัย "รักษ์ฟัน ปี 1" ”

ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวซารีนา บินรัตแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากทุกกลุ่มวัย "รักษ์ฟัน ปี 1"

ที่อยู่ ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ l8401-67-18 เลขที่ข้อตกลง 17/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากทุกกลุ่มวัย "รักษ์ฟัน ปี 1" จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหวัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากทุกกลุ่มวัย "รักษ์ฟัน ปี 1"



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากทุกกลุ่มวัย "รักษ์ฟัน ปี 1" " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ l8401-67-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 92,025.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหวัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพช่องปากมีความสำคัญต่อสุขภาพของทุกคน โดยเฉพาะในเด็กเล็ก ซึ่งยังไม่สามารถดูแลตัวเองได้ โรคฟันผุในเด็กสามารถพบได้ตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้นในช่วงขวบปีแรก และฟันผุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงอายุ 3 ปี ซึ่งพบว่า เมื่ออ้าปากเด็กอายุ 3 ปี มักจะพบฟันผุเกือบทุกราย สาเหตุหลักที่ ทำให้เด็กมีฟันผุ มาจากพฤติกรรมในการเลี้ยงดูบุตรที่ไม่ถูกต้อง รวมถึงการดูแลทำความสะอาดช่องปากไม่ถูกวิธี และมีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสมก่อให้เกิดโรคฟันผุในฟันน้ำนมอย่างรุนแรง ทำให้เด็กมีความเจ็บปวด เคี้ยวอาหารไม่ได้ตามปกติ ได้รับสารอาหารที่ไม่เพียงพอและส่งผลต่อพัฒนาการ การเจริญเติบโตของเด็กได้ การเกิดฟันผุในฟันน้ำนม นอกจากจะมีผลเสียโดยตรงต่อสุขภาพของเด็กในขณะนั้นแล้ว ยังมีผลเสียต่อฟันแท้ของของเด็กในอนาคตด้วย นอกจากฟันน้ำนมแล้ว การสูญเสียฟันแท้ ในกลุ่มวัยอื่นๆ ยังคงเป็นปัญหาสำคัญในการดำเนินงานทันตสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง จึงจำเป็นอย่างยิ่งในการส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างต่อเนื่อง เสริมความรู้ความเข้าใจในการดูแลช่องปากทุกกลุ่มวัย โดยเฉพาะกลุ่มวัยเรียน วัยรุ่นและวัยทำงาน ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีการขึ้นของฟันแท้ครบสมบูรณ์ หากขาดการสร้างจิตสำนึกหรือปลุกทัศนคติ กระตุ้นในการดูแลช่องปากที่ถูกวิธี ตั้งแต่เนิ่นๆอาจส่งผลให้ระยะยาวเกิดการสูญเสียฟันแท้ในที่สุด คุณภาพชีวิตในวัยชราลดลง
จากการดำเนินงานทันตสาธารณสุข ในปี 2563 – 2566 ซึ่งเป็นช่วงระบาดของโรคโควิด ส่งผลให้การเข้าถึงบริการทางทันตกรรม ของประชาชนในเขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านทรายขาว ลดน้อยลง จากผลการดำเนินงานในคลินิกทันตกรรมที่ผ่านมา พบว่า ประชาชนในเขตพื้นที่ส่วนใหญ่ สูญเสียฟันแท้ด้วยโรคปริทันต์อักเสบ จากการมีหินปูนสะสมเป็นระยะเวลานาน มีฟันแท้ผุ จากการไม่ได้บูรณะรักษาจนไม่สามารถเก็บฟันแท้ซี่นั้นไว้ได้ จนต้องถอนออก จากสถานการณ์ดังกล่าว ชี้ให้เห็นว่า ประชาชนในพื้นที่ยังขาดการดูแลช่องปากที่เหมาะสม จึงจำเป็นอย่างยิ่งในการส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันเชิงรุกในชุมชน เพื่อสร้างความเข้าใจและทัศนคติที่ดี ในการดูแลรักษาฟัน เพื่อลดการสูญเสียฟันแท้ จากเดิมที่ประชาชนส่วนใหญ่ มักเข้าใจว่า การสูญเสียฟัน เป็นเรื่องของธรรมชาติที่เป็นไปตามวัย จากเหตุผลข้างต้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบ้านทรายขาว จึงได้เสนอโครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากทุกกลุ่มวัย “รักษ์ฟัน ปี 1” เพื่อให้ประชาชนทุกช่วงวัยให้ความสำคัญกับการดูแลสุขภาพช่องปาก จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อเฝ้าระวังโรคในช่องปากและลดการสูญเสียฟันแท้และฟันน้ำนมต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดโรคฟันผุ
  2. เพื่อให้ประชาชนมีช่องปากและฟันสะอาด
  3. เพื่อลดโรคเหงือกอักเสบ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. ประชุมวางแผนการดำเนินงานและฟื้นฟูความรู้การดูแลช่องปากของคณะทำงาน
  2. 2. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และผู้ปกครองเด็กก่อนวัยเรียน (อายุ 0-3 ปี)
  3. 3. กลุ่มวัยเรียนและวัยทำงาน
  4. 4. กิจกรรมให้ความรู้และตรวจช่องปากผู้สูงอายุและผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
  5. - ค่าอาหารว่าง มื้อละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ (50*30)
  6. - ค่าอาหารกลางวัน มื้อละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ (50*30)
  7. - ค่าอาหารว่าง 1 มื้อๆละ 25 บาท จำนวน 294 คน
  8. - ค่าอุปกรณ์ฝึกทักษะแปรงฟันและเอกสารใบความรู้ จำนวน 294 ชุดๆละ 15 บาท
  9. - ฟลูออไรด์วานิช (embrace 12 ml) 2 หลอดๆละ 1,450 บาท
  10. - ค่าอาหารว่าง มื้อละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ
  11. - ค่าอาหารกลางวัน มื้อละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ
  12. - ค่าวิทยากร จำนวน 3 ชั่วโมงๆละ 600 บาท
  13. - ค่าชุดเอกสารใบความรู้และแบบประเมินติดตาม 38 ชุดๆละ 35 แผ่นๆละ 0.50สตางค์
  14. - อบรมให้ความรู้ผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 460 คน - ค่าอาหารว่าง มื้อละ 25 บาท จำนวน 1 มื้อ
  15. - กิจกรรมฐานให้ความรู้นักเรียน จำนวน 460 คน - ค่าอาหารว่าง มื้อละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ
  16. - ค่าวิทยากร 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท จำนวน 3 ครั้ง (18*600)
  17. - ค่าชุดเอกสารใบความรู้และแบบประเมิน 460 ชุดๆละ 15 แผ่นๆละ 0.50สตางค์
  18. - ฟลูออไรด์วานิช (embrace 12 ml) 9 หลอดๆละ 1,450 บาท
  19. - ค่าอาหารว่าง มื้อละ 25 บาท จำนวน 1 มื้อ (25*250)
  20. - ฟลูออไรด์วานิช (duraphat 10 ml) 1 หลอดๆละ 1,500 บาท

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 294
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 120
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ประชาชนในพื้นที่ตระหนักและให้ความสำคัญกับการดูแลช่องปากและฟันมากขึ้น
2. เด็กเล็กได้รับการแปรงฟันโดยผู้ปกครองทุกวัน 3. ประชาชนเข้าถึงบริการทันตกรรมมากขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดโรคฟันผุ
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อให้ประชาชนมีช่องปากและฟันสะอาด
ตัวชี้วัด :

 

3 เพื่อลดโรคเหงือกอักเสบ
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 414
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 294
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 120
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดโรคฟันผุ (2) เพื่อให้ประชาชนมีช่องปากและฟันสะอาด (3) เพื่อลดโรคเหงือกอักเสบ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ประชุมวางแผนการดำเนินงานและฟื้นฟูความรู้การดูแลช่องปากของคณะทำงาน (2) 2. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และผู้ปกครองเด็กก่อนวัยเรียน (อายุ 0-3 ปี) (3) 3. กลุ่มวัยเรียนและวัยทำงาน (4) 4. กิจกรรมให้ความรู้และตรวจช่องปากผู้สูงอายุและผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (5) - ค่าอาหารว่าง มื้อละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ (5030) (6) - ค่าอาหารกลางวัน มื้อละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ (5030) (7) - ค่าอาหารว่าง 1 มื้อๆละ 25 บาท จำนวน 294 คน (8) - ค่าอุปกรณ์ฝึกทักษะแปรงฟันและเอกสารใบความรู้ จำนวน 294 ชุดๆละ 15 บาท (9) - ฟลูออไรด์วานิช (embrace 12 ml) 2 หลอดๆละ 1,450 บาท (10) - ค่าอาหารว่าง มื้อละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ (11) - ค่าอาหารกลางวัน มื้อละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ (12) - ค่าวิทยากร จำนวน 3 ชั่วโมงๆละ 600 บาท (13) - ค่าชุดเอกสารใบความรู้และแบบประเมินติดตาม 38 ชุดๆละ 35 แผ่นๆละ 0.50สตางค์ (14) - อบรมให้ความรู้ผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 460 คน            - ค่าอาหารว่าง มื้อละ 25 บาท จำนวน 1 มื้อ (15) - กิจกรรมฐานให้ความรู้นักเรียน  จำนวน 460 คน            - ค่าอาหารว่าง มื้อละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ (16) - ค่าวิทยากร 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท จำนวน 3 ครั้ง (18600) (17) - ค่าชุดเอกสารใบความรู้และแบบประเมิน 460 ชุดๆละ 15 แผ่นๆละ 0.50สตางค์ (18) - ฟลูออไรด์วานิช (embrace 12 ml) 9 หลอดๆละ 1,450 บาท (19) - ค่าอาหารว่าง มื้อละ 25 บาท จำนวน 1 มื้อ (25250) (20) - ฟลูออไรด์วานิช (duraphat 10 ml) 1 หลอดๆละ 1,500 บาท

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากทุกกลุ่มวัย "รักษ์ฟัน ปี 1" จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ l8401-67-18

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวซารีนา บินรัตแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด