กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ


“ โครงการพัฒนาร้านชำปลอดยาอันตรายและยาชายแดน ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ”

ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวศอฟาอ์ หะยีสาอิ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาร้านชำปลอดยาอันตรายและยาชายแดน ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

ที่อยู่ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L8422-01-02 เลขที่ข้อตกลง 67-L8422-01-02

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาร้านชำปลอดยาอันตรายและยาชายแดน ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาร้านชำปลอดยาอันตรายและยาชายแดน ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาร้านชำปลอดยาอันตรายและยาชายแดน ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L8422-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,207.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล ในสถานการณ์ปัจจุบันผลิตภัณฑ์สุขภาพ ซึ่งได้แก่ อาหาร ยา เครื่องสำอาง เครื่องมือแพทย์ วัตถุอันตราย มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น โดยผลิตภัณฑ์ดังกล่าวมีทั้งที่มีการขออนุญาตถูกต้องตามกฎหมายและไม่ได้รับอนุญาต เช่น ปัญหาการลักลอบใส่สารอันตรายในผลิตภัณฑ์ ปัญหาสถานประกอบการผลิตภัณฑ์สุขภาพไม่ผ่านเกณฑ์ การใช้ยาอย่างไม่สมเหตุผล ปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพของประเทศเพื่อนบ้านที่ลักลอบนำเข้ามาจำหน่าย ร้านชำจำหน่ายยาอันตราย ซึ่งอาจก่อให้เกิดความไม่ปลอดภัยในผู้บริโภคได้ รวมทั้งปัจจุบันมีความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ทำให้ผู้บริโภคมีโอกาสในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารมากขึ้น ซึ่งข้อมูลดังกล่าวมีทั้งที่เป็นประโยชน์และเป็นโทษ หากผู้บริโภคมีความรู้ที่ไม่ถูกต้อง จากการตรวจสอบเฝ้าระวังการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพในเขตอำเภอเจาะไอร้อง ในปี 2565 และ 2566 พบว่า ปี 2565 ร้านชำมีการจำหน่ายยาอันตรายและยาชายแดน จำนวน 8 ร้าน จากร้านชำทั้งหมด 86 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 9.30 และปี 2566 ร้านชำมีการจำหน่ายยาอันตรายและยาชายแดน จำนวน 8 ร้าน จากร้านชำทั้งหมด 145 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 5.52 ได้ประเมินความรู้ความเข้าใจในด้านการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของผู้ประกอบการ ผลการประเมินพบว่า ผู้ประกอบการร้านชำไม่มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่ถูกต้องในปี 2565 จำนวน 41 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 41.67 และในปี 2566 จำนวน 61 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 42.01
จากข้อมูลในภาพรวมอำเภอเจาะไอร้องดังกล่าวยังพบร้านชำในพื้นที่ ต.จวบ ที่มีการจำหน่ายยาอันตรายและยาชายแดน คิดเป็นร้อยละ 7.14 และผู้ประกอบการร้านชำในพื้นที่ไม่มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่ถูกต้อง คิดเป็นร้อยละ 39.29 และทั้งนี้พนักงานเจ้าหน้าที่ได้ดำเนินการชี้แจงข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องให้แก่ผู้ประกอบ การรับทราบและถือปฏิบัติ ทั้งนี้การดำเนินการควบคุม ตรวจสอบ เฝ้าระวังการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพในพื้นที่เจาะไอร้องดังกล่าว ต้องอาศัยความร่วมมือของภาคีเครือข่ายภาคประชาชน อาทิเช่น ผู้นำท้องถิ่น นักเรียน ผู้ประกอบการด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ อสม. ประชาชนผู้บริโภค และภาคีเครือข่ายภาครัฐ ได้แก่ สสจ. อปท. ด่านศุลกากร ตำรวจ โดยภาคีเครือข่ายภาคประชาชนและภาคีเครือข่ายภาครัฐมีความสำคัญอย่างยิ่งในการขับเคลื่อนงานคุ้มครอง
ผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุขในระดับพื้นที่ให้บรรลุความสำเร็จตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ ดังนั้น กลุ่มงานเภสัชกรรมและคุ้มครองผู้บริโภค โรงพยาบาลเจาะไอร้อง ได้เห็นความสำคัญของความปลอดภัยทางด้านอาหาร ยา และผลิตภัณฑ์สุขภาพในเขตพื้นที่ ต.จวบ จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาร้านชำปลอดยาอันตรายและยาชายแดน วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข และพัฒนาร้านชำในเขตพื้นที่ ต.จวบ อ.เจาะไอร้อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. พัฒนาร้านชำสู่ร้านชำสีขาว
  2. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งของเครือข่ายในการกระจายความรู้เข้าถึงชุมชน
  3. เพื่อให้มีใช้ยา อย่างสมเหตุผลในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนการดำเนินงานและ อสม.
  2. กิจกรรมลงพื้นที่ร้านชำ
  3. กิจกรรมตรวจสอบเฝ้าระวังร้านชำ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนในพื้นที่ ต.จวบ ได้รับความปลอดภัยในการบริโภคผลิตภัณฑ์
  2. เกิดร้านชำต้นแบบให้แก่ร้านชำในพื้นที่ ต.จวบ อ.เจาะไอร้อง
  3. เกิดเครือข่ายการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค เพื่อแก้ไขปัญหาตามสภาพพื้นที่ของ ต.จวบ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 พัฒนาร้านชำสู่ร้านชำสีขาว
ตัวชี้วัด : ผู้ประกอบการร้านชำมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่ถูกต้อง ร้อยละ 80
0.00

 

2 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งของเครือข่ายในการกระจายความรู้เข้าถึงชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของร้านชำในพื้นที่ผ่านเกณฑ์ร้านชำสีขาว มากกว่าร้อยละ 10
0.00

 

3 เพื่อให้มีใช้ยา อย่างสมเหตุผลในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพ ผักผลไม้ เครื่องสำอาง ยา สมุนไพรกลุ่มเสี่ยงไม่พบการปลอมปน มากกว่าร้อยละ 90
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาร้านชำสู่ร้านชำสีขาว (2) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งของเครือข่ายในการกระจายความรู้เข้าถึงชุมชน (3) เพื่อให้มีใช้ยา อย่างสมเหตุผลในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนการดำเนินงานและ อสม. (2) กิจกรรมลงพื้นที่ร้านชำ (3) กิจกรรมตรวจสอบเฝ้าระวังร้านชำ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาร้านชำปลอดยาอันตรายและยาชายแดน ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L8422-01-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวศอฟาอ์ หะยีสาอิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด