กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งยาว


“ โครงการวัยรุ่น วัยใส ใส่ใจสุขภาพ ”

ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
โรงเรียนทุ่งยาววิทยา

ชื่อโครงการ โครงการวัยรุ่น วัยใส ใส่ใจสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L8018-02-01 เลขที่ข้อตกลง 01/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 31 มีนาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการวัยรุ่น วัยใส ใส่ใจสุขภาพ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งยาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการวัยรุ่น วัยใส ใส่ใจสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
(1) เพื่อให้วัยรุ่น เข้าใจถึงความเปลี่ยนแปลงของร่างกาย/ จิตใจ
(2) เพื่อให้วัยรุ่นได้รู้จักดูแลสุขภาพอย่างถูกวิธี
(3) เพื่อให้วัยรุ่นได้รู้จักดูแลตัวเองจากการถูกคุกคามทางเพศ
(4) เพื่อให้วัยรุ่นได้รู้แนวทางในการป้องกันตัวเองเพื่อป้องกันการท้องไม่พร้อม ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ กิจกรรม อบรมตามโครงการวัยรุ่น วัยใส ใส่ใจสุขภาพ วันจันทร์ ที่ 4 มีนาคม 2567 เวลา 08.30 น. – 15.30 น. ณ โรงเรียนทุ่งยาววิทยา ผลการจัดกิจกรรม รายละเอียด ดังนี้
1. หัวข้อ “มารู้จักอวัยวะสืบพันธุ์ ฉัน – เธอ” โดย นางสาวชลิดา ณ ตะกั่วป่า วิทยากรจากทีมครอบครัวยิ้มจังหวัดตรัง ระบบสืบพันธุ์ เป็นระบบของอวัยวะในร่างกายสิ่งมีชีวิตมีจุดประสงค์เพื่อการสืบพันธุ์เพิ่มจำนวนสิ่งมีชีวิตให้มากขึ้น ในระบบนี้จำเป็นต้องอาศัยสารต่าง ๆ อาทิเช่น ของเหลว ฮอร์โมน และฟีโรโมนหลายชนิดเพื่อช่วยเหลือในการทำงาน โดยการสืบพันธุ์ของคนเป็นการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศโดยวิธีการปฏิสนธิภายใน เมื่อชายและหญิงเข้าสู่วัยรุ่น ต่อมใต้สมองจะหลั่งฮอร์โมนกระตุ้นต่อมเพศ (ชายคืออัณฑะ หญิงคือรังไข่) ให้ผลิตฮอร์โมนเพศและผลิตเซลล์สืบพันธุ์   1.1 อวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย ประกอบด้วย องคชาต, ลูกอัณฑะ, ก้านอัณฑะ, ท่อน้ำอสุจิ, ถุงเก็บน้ำอสุจิต่อมลูกหมาก ต่อมขับเมือก และกระเพาะปัสสาวะ
  1.2 อวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิง ประกอบด้วย   - อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกเพศหญิง เป็นส่วนของอวัยวะสืบพันธุ์ที่อยู่ภายนอกและสามารถ มองเห็นได้ มีขนาดและรูปร่างแตกต่างกันตามบุคคลและเชื้อชาติ   - อวัยวะสืบพันธุ์ภายในเพศหญิง ประกอบด้วย ช่องคลอด, มดลูกปีกมดลูกหรือท่อนำไข่, รังไข่,ปากมดลูก และโพรงมดลูก
การทำความสะอาดจุดซ่อนเร้นเพศชายที่ถูกต้อง
1. ตีสบู่หรือผลิตภัณฑ์สำหรับล้างจุดซ่อนเร้นใส่มือแล้วตีให้เป็นฟอง 2. นำฟองมาถูให้ทั่วอวัยวะเพศ โดยเริ่มตั้งแต่ส่วนโคนเป็นอันดับแรก ในกรณีของผู้ที่ไม่ได้ขลิบ ให้รูดหนังหุ้มปลายเข้าหาตัวเพื่อเปิดหัวองคชาตออกมาทำความสะอาด 3. ถูบริเวณหัวองคชาตและหนังหุ้มปลายอย่างเบามือ
4. ไม่ควรฉีดด้วยฝักบัวไปยังอวัยวะเพศโดยตรง เพราะอาจทำให้ระคายเคืองได้ แนะนำให้ราดน้ำเบา ๆ
5. เมื่อล้างด้วยน้ำสะอาดเรียบร้อยแล้ว ให้ใช้ผ้าขนหนู หรือกระดาษทิชชู่แบบหนา ซับอวัยวะเพศให้แห้ง การทำความสะอาดจุดซ่อนเร้นเพศหญิงที่ถูกต้อง 1. สามารถทำความสะอาดได้ง่าย ๆ ด้วยน้ำเปล่าทุกครั้งหลังอาบน้ำ 2. ไม่ควรใช้ผลิตภัณฑ์ใด ๆ ที่ไม่ได้รับรองความปลอดภัย หรือไม่ทราบแหล่งผลิตชัดเจนเป็นอันขาด
3. ไม่ควรใช้นิ้วล้วงเข้าไปในช่องคลอดเพื่อทำความสะอาด ควรทำความสะอาดเบา ๆ ที่ผิวภายนอก 4. หากพบอาการตกขาว คัน แสบ หรือมีกลิ่นผิดปกติ ควรรีบพบสูตินรีแพทย์ เพื่อหาสาเหตุ และการรักษาอย่างเหมาะสม 5. หากต้องการความสะอาดสดชื่น สามารถใช้ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดจุดซ่อนเร้นได้ แต่อย่าใช้บ่อยจนเกินไป หรือใช้เฉพาะวันที่มีเหงื่อออกมาก หรือวันที่มีประจำเดือน

  1. กิจกรรมกลุ่มแบ่งเป็นฐานการเรียนรู้ จำนวน 2 ฐาน
    2.1 หัวข้อ “แลกเปลี่ยนเรียนรู้พฤติกรรมเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ในชีวิตของวัยรุ่น” (โดย นางสาวพนิดา สายควรเภย วิทยากรจากทีมครอบครัวยิ้ม) เราอยู่ในวัยที่จะก้าวเข้าสู่วัยรุ่น มีการเปลี่ยนแปลงหลายอย่างเกิดขึ้นทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม ในด้านสังคมจากการที่เคยแบ่งกลุ่มคบเฉพาะเพื่อนเพศเดียวกัน วัยนี้จะเริ่มสนใจเรื่องเพศมีการพบปะพูดคุยจนเกิดความพอใจซึ่งกันและกันกลายเป็นความรักแบบหนุ่มสาว จนบางครั้งอาจนำไปสู่การมีเพศสัมพันธ์ ที่ไม่คาดคิดปัญหาที่ตามมาคือ การตั้งครรภ์ไม่พร้อมเสียการเรียน และอาจเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
    สาเหตุการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น

    1. ความคึกคะนอง อยากรู้ อยากลองที่จะมีเพศสัมพันธ์
    2. มีเจตนา ตั้งใจไม่ป้องกันเมื่อมีเพศสัมพันธ์
    3. การเข้าถึงสื่อลามกอนาจารได้ง่ายในปัจจุบัน
    4. ถูกเพื่อนฝูงชักจูง ทำตามเพื่อน
    5. สภาพความเป็นอยู่ภายในชุมชนที่พักอาศัยมีความเสี่ยง แนวทางการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
    6. ไม่อยู่ในที่ลับตาคนสองต่อสองระหว่างชายกับหญิง เช่น ในห้องนอน ในบ้านที่ไม่มีใครอยู่หรือสวนสาธารณะเวลามืดค่ำ
    7. ไม่ไปเที่ยวกับเพื่อนต่างเพศตามลำพังจนมืดค่ำ นอกจากจะเสี่ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร ยังทำให้พ่อแม่เป็นห่วงเพราะอาจเกิดอุบัติเหตุหรืออาจถูกล่อลวงไปล่วงละเมิดทางเพศระหว่างทางกลับบ้าน
    8. ไม่ยุ่งเกี่ยวกับเสพสารเสพติด การดื่มสุราและของมึนเมาต่าง ๆ ที่ทำให้ขาดสติ อาจถูกล่อลวง และพลั้งเผลอจนก่อให้เกิดการมีเพศสัมพันธ์ได้
    9. ไม่ให้ผู้อื่นถูกเนื้อต้องตัวสัมผัสร่างกายกัน เช่น การโอบไหล่ กอดเอว จับมือ เพราะอาจจะนำไปสู่การมีเพศสัมพันธ์ได้โดยง่าย 2.2 หัวข้อ “แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องบทบาททางเพศที่แตกต่างกันระหว่างชายหญิง” (โดย นางสาวชลิดา ณ ตะกั่วป่า วิทยากรจากทีมครอบครัวยิ้มจังหวัดตรัง) เพศโดยกำเนิด แบ่งได้เป็น 2 เพศ คือ เพศชาย เพศหญิง ความแตกต่างระหว่างเพศชายกับเพศหญิง โดยกำเนิด มีดังนี้
    10. มีลักษณะทางร่างกายที่แตกต่างกัน เช่น ลักษณะของความเป็นเพศชายหรือเพศหญิงที่ถูกกำหนดขึ้นจากการถ่ายทอดมาจากพ่อและแม่และอวัยวะเพศที่แตกต่างกัน
    11. การแต่งกาย เพศชายสวมกางเกง ส่วนเพศหญิงสวมกระโปรง หรือบางครั้งเราอาจมองเห็นเพศชายสวมกระโปรงและเพศหญิงสวมกางเกงก็ได้แล้วแต่ความชอบของแต่ละบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ
    12. เพศชายพูดลงท้ายอย่างสุภาพด้วยคำว่า “ครับ” เพศหญิงพูดลงท้ายอย่างสุภาพด้วยคำว่า “ค่ะ” เพศชายใช้สรรพนามแทนตนเองว่า “ผมหรือกระผม” ส่วนเพศหญิงใช้สรรพนามแทนตนเองว่า “ดิฉัน”
    13. โดยทั่วไปร่างกายของเพศชายมีความแข็งแรงกว่าเพศหญิงส่วนเพศหญิงมีอวัยวะที่สามารถอุ้มท้องและให้กำเนิดทารกได้
  2. หัวข้อ “ทักษะการปฏิเสธ” (โดย อาจารย์นิดา อินทอง วิทยากรจากทีมครอบครัวยิ้มจังหวัดตรัง) สถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันบางสถานการณ์อาจก่อให้เกิดอันตรายจากการถูกทำร้ายร่างกาย การล่วงละเมิดทางเพศ หรือเกิดความไม่ปลอดภัยต่าง ๆ ขึ้น ดังนั้น นักเรียนต้องรู้จักการปฏิเสธในสิ่งที่ไม่สมควร ไม่เหมาะสมเพื่อป้องกันสถานการณ์ที่อาจก่อให้เกิดความไม่ปลอดภัยขึ้น การปฏิเสธในสถานการณ์ต่าง ๆ
    1. เมื่อมีคนแปลกหน้าชักชวนขึ้นรถตามลำพัง เมื่อมีคนแปลกหน้าชักชวนขึ้นรถตามลำพัง ควรหาทางปฏิเสธและให้ยืนห่างจากรถ อย่าขึ้นรถโดยเด็ดขาดและอย่าหลงเชื่อคำพูดของเขา
    ตัวอย่างทักษะการปฏิเสธ  – “ขอบคุณค่ะ แต่หนูคงไปไม้ได้พ่อสั่งให้หนูรอตรงนี้ค่ะ” – “ไม่เป็นไรค่ะ ถึงบ้านแล้วค่ะ บ้านของหนูอยู่หลังนี้ค่ะ” และเดินออกจากสถานที่นั้นทันที   2. เมื่ออยู่บ้านตามลำพัง เมื่อเราอยู่บ้านตามลำพัง โดยไม่มีผู้ใหญ่อยู่บ้านเลย หากมีคนมาเคาะประตูอย่าเปิดให้เป็นอันขาด เพราะเขาอาจใช้โอกาสที่เราเปิดประตูให้ ผลักประตูเข้ามาทำร้ายร่างกายของเรา หรือขโมยสิ่งของมีค่าภายในบ้านออกไปได้ ตัวอย่างทักษะการปฏิเสธ – ไม่เปิดประตูรับเลย เงียบ ปฏิบัติเหมือนไม่มีคนอยู่บ้านและรีบโทรศัพท์บอก พ่อ แม่ หรือผู้ปกครองในบ้าน

    1. เมื่อมีคนแปลกหน้าให้อาหารหรือขนมรับประทาน เราไม่ควรรับ ให้พูดปฏิเสธ และรีบหลบออกจากคนแปลกหน้าโดยทันที เพราะในอาหารหรือขนมที่เขามอบให้อาจมีสารเสพติดหรือยานอนหลับผสมอยู่ ซึ่งอาจทำให้เราเสพสารเสพติดหรือถูกลักพาตัวไปเรียกค่าไถ่ได้ ตัวอย่างทักษะการปฏิเสธ  – “ขอบคุณค่ะ หนูเพิ่งรับประทานขนมเสร็จค่ะ ยังอิ่มอยู่เลยค่ะ” – “ไม่เป็นไรค่ะ พ่อกำลังไปซื้อขนมมาให้ค่ะ” และรีบออกจากที่นั้นทันที
    2. เมื่อถูกชวนให้เข้าบ้านหรือในห้องด้วยตามลำพัง เราไม่ควรเข้าไปโดยที่ไม่มีพ่อ แม่ หรือผู้ปกครองของเราไปด้วย ควรหาทางปฏิเสธและเดินหนีทันที ตัวอย่างทักษะการปฏิเสธ  – “ขอโทษค่ะ นัดเพื่อนทำการบ้านไว้ต้องรีบไปค่ะ” – “ขอโทษค่ะ ผู้ปกครองยืนรออยู่ค่ะ”
    3. เมื่อถูกชักชวนให้ลองเสพสารเสพติด เราไม่ควรลองเสพและควรหาทางหลีกเลี่ยงหรือปฏิเสธ ตัวอย่างทักษะการปฏิเสธ  – “ไม่หรอกครับ เราต้องรีบทำการบ้านเดี๋ยวพรุ่งนี้ไม่มีส่งคุณครู” – “ไม่หรอกค่ะ คุณพ่อคุณแม่บอกว่ามันเป็นสิ่งไม่ดี ทำแล้วท่านจะเสียใจ”
  3. กิจกรรมนันทนาการและปิดอบรม

    • เขียนข้อความลงในกระดาษโพสต์ – อิท หัวข้อ “สิ่งที่ได้รับจากการอบรมโครงการวัยรุ่น วัยใส ใส่ใจสุขภาพ”   - รับชมการแสดงจากวงดนตรีโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ และการแสดงมวยสากลประกอบเพลงจากโรงเรียนทุ่งยาววิทยา

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันแนวโน้มในการเข้าสู่วัยเริ่มหนุ่มสาวเร็วขึ้นทั้งเพศชายและเพศหญิงโดยทั่วไปแล้วช่วง 10 - 14 ปี สำหรับเพศชาย และช่วง 8 – 15 ปี สำหรับเพศหญิง ซึ่งผลจากฮอร์โมนแต่ละเพศที่กระตุ้นการสร้างลักษณะทางเพศของร่างกายให้เติบโตจากเด็กสู่ผู้ใหญ่ ฮอร์โมนดังกล่าวยังส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านร่างกายด้านอารมณ์และเริ่มมีการสนใจเพศตรงข้ามและด้วยสภาพสังคมไทยในปัจจุบัน ทำให้พ่อแม่ส่วนใหญ่ต้องไปประกอบอาชีพนอกบ้าน ส่งผลให้สภาพครอบครัวขาดความอบอุ่น เยาวชนขาดการดูแลและชี้แนะในสิ่งที่เหมาะสม ประกอบกับความก้าวหน้าของเทคโนโลยี การเข้าถึงสื่อ ทำให้เยาวชนถูกกระตุ้นด้วยสิ่งเร้าประกอบด้วยไม่มีทักษในการควบคุมอารมณ์ทางเพศของตนเอง เกิดการมีเพศสัมพันธ์ในเวลาที่ไม่เหมาะสมและขาดความเข้าใจเรื่องเพศศึกษา จึงส่งผลให้เกิดการตั้งครรภ์ ที่ไม่พึงประสงค์ ปัญหาแม่วัยรุ่นตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์นับเป็นปัญหาที่สำคัญในสังคมต้องได้รับการแก้ไขเพราะเยาวชน มีความรู้เรื่องเพศศึกษา การคุมกำเนิด การป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในระดับที่ต่ำมาก ซึ่งยังมีการรับรู้เรื่องเพศไม่ถูกต้อง เช่น การนับระยะปลอดภัยหน้า 7 หลัง 7 เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ เป็นต้น เนื่องจากวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ไม่พร้อมมีอายุน้อยมาก เนื่องด้วยวัยรุ่นเหล่านี้ขาดวุฒิภาวะในการจัดการกับปัญหาชีวิตที่เกิดขึ้น บางคนไม่ทราบว่าตนเองตั้งครรภ์ ทำให้ไม่ได้ดูแลสุขภาพร่างกาย ไม่ได้รับประทานอาหารเสริม ทำให้เด็กที่เกิดออกมาประสบปัญหาร่างกายไม่แข็งแรง น้ำหนักน้อย หรือบางคนหาทางออกโดยวิธีการทำแท้งไม่ปลอดภัย เด็กตกเลือด ติดเชื้อรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้โรงเรียนทุ่งยาววิทยา ได้ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการวัยรุ่น วัยใส ใส่ใจสุขภาพ เพื่อให้นักเรียน เยาวชนได้เรียนรู้เรื่องเพศศึกษาและพัฒนาการทางเพศของตนเอง ให้เด็ก ๆ ได้เรียนรู้และเกิดการแลกเปลี่ยนความคิดในการแก้ไขปัญหาเรื่องเพศกันในระหว่างกลุ่มเพื่อน ๆ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้วัยรุ่น เข้าใจถึงความเปลี่ยนแปลงของร่างกาย/ จิตใจ
  2. เพื่อให้วัยรุ่นได้รู้จักดูแลสุขภาพอย่างถูกวิธี
  3. เพื่อให้วัยรุ่นได้รู้จักดูแลตัวเองจากการถูกคุกคามทางเพศ
  4. เพื่อให้วัยรุ่นได้รู้แนวทางในการป้องกันตัวเองเพื่อป้องกันการท้องไม่พร้อม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรม
  2. จัดกิจกรรมอบรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 69
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. วัยรุ่นเข้าใจถึงความเปลี่ยนแปลงของร่างกาย รู้จักวิธีการดูแลสุขภาพและการทำความสะอาดของร่างกาย
  2. ฝึกความคิดในการใช้ทักษะการปฏิเสธ
  3. วัยรุ่นรู้แนวทางการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดกิจกรรมอบรม

วันที่ 4 มีนาคม 2567 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมอบรมตามโครงการวัยรุ่น วัยใส ใส่ใจสุขภาพ วันจันทร์ ที่ 4 มีนาคม  2567  เวลา 08.30 น. – 15.30 น. ณ โรงเรียนทุ่งยาววิทยา ในหัวข้อดังนี้ 1. หัวข้อ "มารู้จักอวัยวะสืบพันธุ์ ฉัน – เธอ" 2.แบ่งเป็นฐานการเรียนรู้ จำนวน 2 ฐาน
    2.1 หัวข้อ "แลกเปลี่ยนเรียนรู้พฤติกรรมเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ในชีวิตของวัยรุ่น"
    2.2 หัวข้อ "แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องบทบาททางเพศที่แตกต่างกันระหว่างชายหญิง" 3. หัวข้อ "ทักษะการปฏิเสธ" 4. การนันทนาการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตามที่ โรงเรียนทุ่งยาววิทยา ได้ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลทุ่งยาว เพื่อจัด “โครงการวัยรุ่น วัยใส ใส่ใจสุขภาพ” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้วัยรุ่นเข้าใจ ถึงความเปลี่ยนแปลงของร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม รู้จักการดูแลสุขภาพอย่างถูกวิธี และรู้จักดูแลตัวเอง จากการถูกคุกคามทางเพศ เพื่อป้องกันการท้องไม่พร้อมในวัยเรียน กิจกรรม อบรมตามโครงการวัยรุ่น วัยใส ใส่ใจสุขภาพ ในวันจันทร์ ที่ 4 มีนาคม  2567  เวลา 08.30 น. – 15.30 น. ณ โรงเรียนทุ่งยาววิทยา มีนักเรียนที่เข้ารับการอบรมตามโครงการฯ จำนวน 69 คน ผลการดำเนินกิจกรรมนักเรียนได้รับความรู้ ความเข้าใจถึงความเปลี่ยนแปลงของร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม ได้เรียนรู้การดูแลสุขภาพ และการทำความสะอาดของร่างกาย และฝึกทักษะการปฏิเสธในสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน เพื่อป้องกันการเกิดปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมและถูกคุกคามทางเพศ

 

69 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้วัยรุ่น เข้าใจถึงความเปลี่ยนแปลงของร่างกาย/ จิตใจ
ตัวชี้วัด : วัยรุ่นเข้าใจถึงความเปลี่ยนแปลงของร่างกาย
100.00

นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ ความเข้าใจถึงความเปลี่ยนแปลงของร่างกายทั้งชายและหญิง

2 เพื่อให้วัยรุ่นได้รู้จักดูแลสุขภาพอย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : วัยรุ่นได้รู้จักวิธีการดูแลสุขภาพและการทำความสะอาดของร่างกาย
100.00

นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม ได้รับความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและการทำความสะอาดของร่างกายทั้งชายและหญิง

3 เพื่อให้วัยรุ่นได้รู้จักดูแลตัวเองจากการถูกคุกคามทางเพศ
ตัวชี้วัด : ฝึกความคิดในการใช้ทักษะการปฏิเสธ
100.00

นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้เรียนรู้การฝึกทักษะการปฏิเสธในสถานการณ์ต่าง ๆ

4 เพื่อให้วัยรุ่นได้รู้แนวทางในการป้องกันตัวเองเพื่อป้องกันการท้องไม่พร้อม
ตัวชี้วัด : วัยรุ่นรู้แนวทางการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม
100.00

นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้เรียนรู้แนวทางในการป้องกันการท้องไม่พร้อม

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 69 69
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 69 69
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
(1) เพื่อให้วัยรุ่น เข้าใจถึงความเปลี่ยนแปลงของร่างกาย/ จิตใจ
(2) เพื่อให้วัยรุ่นได้รู้จักดูแลสุขภาพอย่างถูกวิธี
(3) เพื่อให้วัยรุ่นได้รู้จักดูแลตัวเองจากการถูกคุกคามทางเพศ
(4) เพื่อให้วัยรุ่นได้รู้แนวทางในการป้องกันตัวเองเพื่อป้องกันการท้องไม่พร้อม ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ กิจกรรม อบรมตามโครงการวัยรุ่น วัยใส ใส่ใจสุขภาพ วันจันทร์ ที่ 4 มีนาคม 2567 เวลา 08.30 น. – 15.30 น. ณ โรงเรียนทุ่งยาววิทยา ผลการจัดกิจกรรม รายละเอียด ดังนี้
1. หัวข้อ “มารู้จักอวัยวะสืบพันธุ์ ฉัน – เธอ” โดย นางสาวชลิดา ณ ตะกั่วป่า วิทยากรจากทีมครอบครัวยิ้มจังหวัดตรัง ระบบสืบพันธุ์ เป็นระบบของอวัยวะในร่างกายสิ่งมีชีวิตมีจุดประสงค์เพื่อการสืบพันธุ์เพิ่มจำนวนสิ่งมีชีวิตให้มากขึ้น ในระบบนี้จำเป็นต้องอาศัยสารต่าง ๆ อาทิเช่น ของเหลว ฮอร์โมน และฟีโรโมนหลายชนิดเพื่อช่วยเหลือในการทำงาน โดยการสืบพันธุ์ของคนเป็นการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศโดยวิธีการปฏิสนธิภายใน เมื่อชายและหญิงเข้าสู่วัยรุ่น ต่อมใต้สมองจะหลั่งฮอร์โมนกระตุ้นต่อมเพศ (ชายคืออัณฑะ หญิงคือรังไข่) ให้ผลิตฮอร์โมนเพศและผลิตเซลล์สืบพันธุ์   1.1 อวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย ประกอบด้วย องคชาต, ลูกอัณฑะ, ก้านอัณฑะ, ท่อน้ำอสุจิ, ถุงเก็บน้ำอสุจิต่อมลูกหมาก ต่อมขับเมือก และกระเพาะปัสสาวะ
  1.2 อวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิง ประกอบด้วย   - อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกเพศหญิง เป็นส่วนของอวัยวะสืบพันธุ์ที่อยู่ภายนอกและสามารถ มองเห็นได้ มีขนาดและรูปร่างแตกต่างกันตามบุคคลและเชื้อชาติ   - อวัยวะสืบพันธุ์ภายในเพศหญิง ประกอบด้วย ช่องคลอด, มดลูกปีกมดลูกหรือท่อนำไข่, รังไข่,ปากมดลูก และโพรงมดลูก
การทำความสะอาดจุดซ่อนเร้นเพศชายที่ถูกต้อง
1. ตีสบู่หรือผลิตภัณฑ์สำหรับล้างจุดซ่อนเร้นใส่มือแล้วตีให้เป็นฟอง 2. นำฟองมาถูให้ทั่วอวัยวะเพศ โดยเริ่มตั้งแต่ส่วนโคนเป็นอันดับแรก ในกรณีของผู้ที่ไม่ได้ขลิบ ให้รูดหนังหุ้มปลายเข้าหาตัวเพื่อเปิดหัวองคชาตออกมาทำความสะอาด 3. ถูบริเวณหัวองคชาตและหนังหุ้มปลายอย่างเบามือ
4. ไม่ควรฉีดด้วยฝักบัวไปยังอวัยวะเพศโดยตรง เพราะอาจทำให้ระคายเคืองได้ แนะนำให้ราดน้ำเบา ๆ
5. เมื่อล้างด้วยน้ำสะอาดเรียบร้อยแล้ว ให้ใช้ผ้าขนหนู หรือกระดาษทิชชู่แบบหนา ซับอวัยวะเพศให้แห้ง การทำความสะอาดจุดซ่อนเร้นเพศหญิงที่ถูกต้อง 1. สามารถทำความสะอาดได้ง่าย ๆ ด้วยน้ำเปล่าทุกครั้งหลังอาบน้ำ 2. ไม่ควรใช้ผลิตภัณฑ์ใด ๆ ที่ไม่ได้รับรองความปลอดภัย หรือไม่ทราบแหล่งผลิตชัดเจนเป็นอันขาด
3. ไม่ควรใช้นิ้วล้วงเข้าไปในช่องคลอดเพื่อทำความสะอาด ควรทำความสะอาดเบา ๆ ที่ผิวภายนอก 4. หากพบอาการตกขาว คัน แสบ หรือมีกลิ่นผิดปกติ ควรรีบพบสูตินรีแพทย์ เพื่อหาสาเหตุ และการรักษาอย่างเหมาะสม 5. หากต้องการความสะอาดสดชื่น สามารถใช้ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดจุดซ่อนเร้นได้ แต่อย่าใช้บ่อยจนเกินไป หรือใช้เฉพาะวันที่มีเหงื่อออกมาก หรือวันที่มีประจำเดือน

  1. กิจกรรมกลุ่มแบ่งเป็นฐานการเรียนรู้ จำนวน 2 ฐาน
    2.1 หัวข้อ “แลกเปลี่ยนเรียนรู้พฤติกรรมเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ในชีวิตของวัยรุ่น” (โดย นางสาวพนิดา สายควรเภย วิทยากรจากทีมครอบครัวยิ้ม) เราอยู่ในวัยที่จะก้าวเข้าสู่วัยรุ่น มีการเปลี่ยนแปลงหลายอย่างเกิดขึ้นทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม ในด้านสังคมจากการที่เคยแบ่งกลุ่มคบเฉพาะเพื่อนเพศเดียวกัน วัยนี้จะเริ่มสนใจเรื่องเพศมีการพบปะพูดคุยจนเกิดความพอใจซึ่งกันและกันกลายเป็นความรักแบบหนุ่มสาว จนบางครั้งอาจนำไปสู่การมีเพศสัมพันธ์ ที่ไม่คาดคิดปัญหาที่ตามมาคือ การตั้งครรภ์ไม่พร้อมเสียการเรียน และอาจเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
    สาเหตุการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น

    1. ความคึกคะนอง อยากรู้ อยากลองที่จะมีเพศสัมพันธ์
    2. มีเจตนา ตั้งใจไม่ป้องกันเมื่อมีเพศสัมพันธ์
    3. การเข้าถึงสื่อลามกอนาจารได้ง่ายในปัจจุบัน
    4. ถูกเพื่อนฝูงชักจูง ทำตามเพื่อน
    5. สภาพความเป็นอยู่ภายในชุมชนที่พักอาศัยมีความเสี่ยง แนวทางการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
    6. ไม่อยู่ในที่ลับตาคนสองต่อสองระหว่างชายกับหญิง เช่น ในห้องนอน ในบ้านที่ไม่มีใครอยู่หรือสวนสาธารณะเวลามืดค่ำ
    7. ไม่ไปเที่ยวกับเพื่อนต่างเพศตามลำพังจนมืดค่ำ นอกจากจะเสี่ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร ยังทำให้พ่อแม่เป็นห่วงเพราะอาจเกิดอุบัติเหตุหรืออาจถูกล่อลวงไปล่วงละเมิดทางเพศระหว่างทางกลับบ้าน
    8. ไม่ยุ่งเกี่ยวกับเสพสารเสพติด การดื่มสุราและของมึนเมาต่าง ๆ ที่ทำให้ขาดสติ อาจถูกล่อลวง และพลั้งเผลอจนก่อให้เกิดการมีเพศสัมพันธ์ได้
    9. ไม่ให้ผู้อื่นถูกเนื้อต้องตัวสัมผัสร่างกายกัน เช่น การโอบไหล่ กอดเอว จับมือ เพราะอาจจะนำไปสู่การมีเพศสัมพันธ์ได้โดยง่าย 2.2 หัวข้อ “แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องบทบาททางเพศที่แตกต่างกันระหว่างชายหญิง” (โดย นางสาวชลิดา ณ ตะกั่วป่า วิทยากรจากทีมครอบครัวยิ้มจังหวัดตรัง) เพศโดยกำเนิด แบ่งได้เป็น 2 เพศ คือ เพศชาย เพศหญิง ความแตกต่างระหว่างเพศชายกับเพศหญิง โดยกำเนิด มีดังนี้
    10. มีลักษณะทางร่างกายที่แตกต่างกัน เช่น ลักษณะของความเป็นเพศชายหรือเพศหญิงที่ถูกกำหนดขึ้นจากการถ่ายทอดมาจากพ่อและแม่และอวัยวะเพศที่แตกต่างกัน
    11. การแต่งกาย เพศชายสวมกางเกง ส่วนเพศหญิงสวมกระโปรง หรือบางครั้งเราอาจมองเห็นเพศชายสวมกระโปรงและเพศหญิงสวมกางเกงก็ได้แล้วแต่ความชอบของแต่ละบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ
    12. เพศชายพูดลงท้ายอย่างสุภาพด้วยคำว่า “ครับ” เพศหญิงพูดลงท้ายอย่างสุภาพด้วยคำว่า “ค่ะ” เพศชายใช้สรรพนามแทนตนเองว่า “ผมหรือกระผม” ส่วนเพศหญิงใช้สรรพนามแทนตนเองว่า “ดิฉัน”
    13. โดยทั่วไปร่างกายของเพศชายมีความแข็งแรงกว่าเพศหญิงส่วนเพศหญิงมีอวัยวะที่สามารถอุ้มท้องและให้กำเนิดทารกได้
  2. หัวข้อ “ทักษะการปฏิเสธ” (โดย อาจารย์นิดา อินทอง วิทยากรจากทีมครอบครัวยิ้มจังหวัดตรัง) สถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันบางสถานการณ์อาจก่อให้เกิดอันตรายจากการถูกทำร้ายร่างกาย การล่วงละเมิดทางเพศ หรือเกิดความไม่ปลอดภัยต่าง ๆ ขึ้น ดังนั้น นักเรียนต้องรู้จักการปฏิเสธในสิ่งที่ไม่สมควร ไม่เหมาะสมเพื่อป้องกันสถานการณ์ที่อาจก่อให้เกิดความไม่ปลอดภัยขึ้น การปฏิเสธในสถานการณ์ต่าง ๆ
    1. เมื่อมีคนแปลกหน้าชักชวนขึ้นรถตามลำพัง เมื่อมีคนแปลกหน้าชักชวนขึ้นรถตามลำพัง ควรหาทางปฏิเสธและให้ยืนห่างจากรถ อย่าขึ้นรถโดยเด็ดขาดและอย่าหลงเชื่อคำพูดของเขา
    ตัวอย่างทักษะการปฏิเสธ  – “ขอบคุณค่ะ แต่หนูคงไปไม้ได้พ่อสั่งให้หนูรอตรงนี้ค่ะ” – “ไม่เป็นไรค่ะ ถึงบ้านแล้วค่ะ บ้านของหนูอยู่หลังนี้ค่ะ” และเดินออกจากสถานที่นั้นทันที   2. เมื่ออยู่บ้านตามลำพัง เมื่อเราอยู่บ้านตามลำพัง โดยไม่มีผู้ใหญ่อยู่บ้านเลย หากมีคนมาเคาะประตูอย่าเปิดให้เป็นอันขาด เพราะเขาอาจใช้โอกาสที่เราเปิดประตูให้ ผลักประตูเข้ามาทำร้ายร่างกายของเรา หรือขโมยสิ่งของมีค่าภายในบ้านออกไปได้ ตัวอย่างทักษะการปฏิเสธ – ไม่เปิดประตูรับเลย เงียบ ปฏิบัติเหมือนไม่มีคนอยู่บ้านและรีบโทรศัพท์บอก พ่อ แม่ หรือผู้ปกครองในบ้าน

    1. เมื่อมีคนแปลกหน้าให้อาหารหรือขนมรับประทาน เราไม่ควรรับ ให้พูดปฏิเสธ และรีบหลบออกจากคนแปลกหน้าโดยทันที เพราะในอาหารหรือขนมที่เขามอบให้อาจมีสารเสพติดหรือยานอนหลับผสมอยู่ ซึ่งอาจทำให้เราเสพสารเสพติดหรือถูกลักพาตัวไปเรียกค่าไถ่ได้ ตัวอย่างทักษะการปฏิเสธ  – “ขอบคุณค่ะ หนูเพิ่งรับประทานขนมเสร็จค่ะ ยังอิ่มอยู่เลยค่ะ” – “ไม่เป็นไรค่ะ พ่อกำลังไปซื้อขนมมาให้ค่ะ” และรีบออกจากที่นั้นทันที
    2. เมื่อถูกชวนให้เข้าบ้านหรือในห้องด้วยตามลำพัง เราไม่ควรเข้าไปโดยที่ไม่มีพ่อ แม่ หรือผู้ปกครองของเราไปด้วย ควรหาทางปฏิเสธและเดินหนีทันที ตัวอย่างทักษะการปฏิเสธ  – “ขอโทษค่ะ นัดเพื่อนทำการบ้านไว้ต้องรีบไปค่ะ” – “ขอโทษค่ะ ผู้ปกครองยืนรออยู่ค่ะ”
    3. เมื่อถูกชักชวนให้ลองเสพสารเสพติด เราไม่ควรลองเสพและควรหาทางหลีกเลี่ยงหรือปฏิเสธ ตัวอย่างทักษะการปฏิเสธ  – “ไม่หรอกครับ เราต้องรีบทำการบ้านเดี๋ยวพรุ่งนี้ไม่มีส่งคุณครู” – “ไม่หรอกค่ะ คุณพ่อคุณแม่บอกว่ามันเป็นสิ่งไม่ดี ทำแล้วท่านจะเสียใจ”
  3. กิจกรรมนันทนาการและปิดอบรม

    • เขียนข้อความลงในกระดาษโพสต์ – อิท หัวข้อ “สิ่งที่ได้รับจากการอบรมโครงการวัยรุ่น วัยใส ใส่ใจสุขภาพ”   - รับชมการแสดงจากวงดนตรีโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ และการแสดงมวยสากลประกอบเพลงจากโรงเรียนทุ่งยาววิทยา

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการวัยรุ่น วัยใส ใส่ใจสุขภาพ

รหัสโครงการ 67-L8018-02-01 รหัสสัญญา 01/2567 ระยะเวลาโครงการ 1 มีนาคม 2567 - 31 มีนาคม 2567

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการวัยรุ่น วัยใส ใส่ใจสุขภาพ จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L8018-02-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงเรียนทุ่งยาววิทยา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด