กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหวัง


“ โครงการบูรณาการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก ”

ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางจุฑารัตน์ ธรรมกิจ

ชื่อโครงการ โครงการบูรณาการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก

ที่อยู่ ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ l8401-67-23 เลขที่ข้อตกลง 22/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบูรณาการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหวัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบูรณาการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบูรณาการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ l8401-67-23 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 75,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหวัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องจากไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทย มักระบาดในช่วงหน้าฝน โดยมียุงลายเป็นพาหะของโรค ส่วนใหญ่มักเป็นในเด็กวัยเรียนช่วงอายุ 10 - 14 ปี บางรายอาการรุนแรงจนทำให้เสียชีวิตได้ แต่ปัจจุบันยังพบผู้ป่วยไข้เลือดออกในผู้ใหญ่และมีการเกิดโรคตลอดทั้งปีอีกด้วย การดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกให้ประสบผลสำเร็จและเกิดประสิทธิภาพนั้นจำเป็นต้องระดมความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการกำจัดลูกน้ำยุงลายที่เป็นพาหะนำโรคและรณรงค์ให้ชุมชนนตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาโรคไข้เลือดออก และร่วมมือกันเฝ้าระวังป้องกันการแพร่ระบาดของโรคนี้ จำนวน 5 หมู่บ้าน จากข้อมูล 3 ปีย้อนหลังพบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ดังนี้ คือ พ.ศ.2564 จำนวน 0 ราย และ พ.ศ.2565 จำนวน 2 ราย ปี 2566 จำนวน 19 ราย ซึ่งความรุนแรงของโรคเพิ่มขึ้นทุกปี ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) สังกัดโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทรายขาว ได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาและสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจึงได้จัดทำโครงการบูรณาการรณณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกประจำปีงบประมาณ 2567 ขึ้น เพื่อป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออกจึงต้องมีการกระตุ้นให้ชุมชนโรงเรียน ได้ทราบและเล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคด้วยการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงและกำจัดลูกน้ำยุงลายเพื่อเป็นการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในชุมชน ส่งผลให้ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออกได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
  2. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกของประชาชนในพื้นที่
  3. เพื่อกระตุ้นให้ชุมชนตระหนักถึงอันตรายของยุงลายและโรคไข้เลือดออก
  4. เพื่อสร้างความร่วมมือ ร่วมใจของชุมชน วัด รร. ศพด. เพื่อควบคุมโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 ฟื้นฟูให้ความรู้แก่สมาชิกชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)
  2. กิจกรรมที่ 2 รณรงค์ ค้นหา ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย พร้อมติดธงเขียวสำหรับบ้านที่ปลอดลูกน้ำยุงลาย สำหรับบ้านที่มีลูกน้ำยุงลายจะติดธงแดงพร้อมแจกทรายอะเบท รณรงค์ 3 เดือน 1 ครั้ง ทั้ง 5หมู่บ้าน และใน วัด โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  3. 1. ค่าอาหารและอาหารว่าง -ค่าอาหารกลางวันมื้อละ50 บาท จำนวน 87 คนๆละ 1 มื้อ
  4. -ค่าอาหารว่าง มื้อละ25 บาท จำนวน 87 คนๆละ 2 มื้อ
  5. 2. ค่าป้ายโครงการขนาด 3 x 2 เมตรจำนวน 1ป้าย
  6. 3. ป้ายรณรงค์ไวนิลขนาด 3 x 2 เมตร วัด 2 แห่ง โรงเรียน 2 แห่ง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 1 แห่ง รวม 5 ป้ายๆละ 500 บาท
  7. ค่าถ่ายเอกสารสำหรับอบรม จำนวน 1000 แผ่น
  8. 1. ป้ายรณรงค์ไวนิลขนาด 3 x 2 เมตร หมู่ละ1ป้าย จำนวน 5 ป้ายๆละ 500 บาท
  9. 3. ค่าอาหารว่างช่วงเดินรณรงค์ มื้อละ25 บาท จำนวน 87 คนๆละ 1 มื้อ จำนวน 4 ครั้ง
  10. ธงเขียว จำนวน 1,260 ชิ้น (1,260 ครัวเรือน), ธงแดง จำนวน 250 ชิ้น ( หมุนเวียนทั้ง 5 หมู่) รวม 1,510 ชิ้นๆละ 25 บาท
  11. 4.ทรายอะเบท 20กรัม จำนวน 5 ถังบรรจุในซองชา ถังละ1,250 ซอง ราคาถังละ 2,800 บาท

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.สามารถป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชน 2.ลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกของประชาชนในเขตพื้นที่ 3.เพื่อกระตุ้นให้ชุมชนตระหนักถึงอันตรายของยุงลายและโรคไข้เลือดออก 4.เกิดความร่วมมือ ร่วมใจของชุมชน วัด โรงเรียน ศพด. เพื่อควบคุมโรคไข้เลือดออก


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกของประชาชนในพื้นที่
ตัวชี้วัด :

 

3 เพื่อกระตุ้นให้ชุมชนตระหนักถึงอันตรายของยุงลายและโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด :

 

4 เพื่อสร้างความร่วมมือ ร่วมใจของชุมชน วัด รร. ศพด. เพื่อควบคุมโรค
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก (2) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกของประชาชนในพื้นที่ (3) เพื่อกระตุ้นให้ชุมชนตระหนักถึงอันตรายของยุงลายและโรคไข้เลือดออก (4) เพื่อสร้างความร่วมมือ ร่วมใจของชุมชน วัด รร. ศพด. เพื่อควบคุมโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1  ฟื้นฟูให้ความรู้แก่สมาชิกชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) (2) กิจกรรมที่ 2 รณรงค์ ค้นหา ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย  พร้อมติดธงเขียวสำหรับบ้านที่ปลอดลูกน้ำยุงลาย  สำหรับบ้านที่มีลูกน้ำยุงลายจะติดธงแดงพร้อมแจกทรายอะเบท รณรงค์  3 เดือน 1 ครั้ง ทั้ง 5หมู่บ้าน และใน วัด โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (3) 1. ค่าอาหารและอาหารว่าง  -ค่าอาหารกลางวันมื้อละ50 บาท จำนวน 87 คนๆละ 1 มื้อ (4) -ค่าอาหารว่าง มื้อละ25 บาท จำนวน 87 คนๆละ 2 มื้อ (5) 2. ค่าป้ายโครงการขนาด 3 x 2 เมตรจำนวน 1ป้าย (6) 3. ป้ายรณรงค์ไวนิลขนาด 3 x 2 เมตร วัด 2 แห่ง โรงเรียน 2 แห่ง    ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 1 แห่ง รวม 5 ป้ายๆละ 500 บาท (7) ค่าถ่ายเอกสารสำหรับอบรม จำนวน  1000 แผ่น (8) 1. ป้ายรณรงค์ไวนิลขนาด 3 x 2 เมตร หมู่ละ1ป้าย จำนวน 5 ป้ายๆละ 500 บาท (9) 3. ค่าอาหารว่างช่วงเดินรณรงค์ มื้อละ25 บาท จำนวน 87 คนๆละ 1 มื้อ จำนวน 4 ครั้ง (10) ธงเขียว จำนวน 1,260 ชิ้น (1,260 ครัวเรือน), ธงแดง จำนวน 250 ชิ้น ( หมุนเวียนทั้ง 5 หมู่) รวม 1,510 ชิ้นๆละ 25 บาท (11) 4.ทรายอะเบท 20กรัม  จำนวน 5 ถังบรรจุในซองชา ถังละ1,250 ซอง ราคาถังละ 2,800 บาท

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบูรณาการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ l8401-67-23

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจุฑารัตน์ ธรรมกิจ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด