กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออกและการจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชนบ้านแขยง ปี 2567
รหัสโครงการ l8401-57-26
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรม อสม.หมู่ที่ 3 บ้านแขยง
วันที่อนุมัติ 22 กุมภาพันธ์ 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 23 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 5,970.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายประชบ ปัลละวัล
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.069,100.657place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนอนามัยและสิ่งแวดล้อม
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชากรทุกกลุ่มอายุในชุมชน

 

2 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกอย่างถูกต้อง คนในชุมชนช่วยกันป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก

 

3 เพื่อสร้างความร่วมมือในการปรับเปลี่ยนพ้นที่อยู่อาศัยให้ถูกสุขลักษณะ ไม่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของลูกน้ำยุงลาย ลดการเกิดโรคไข้เลือดออก

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 5,970.00 0 0.00
23 ก.พ. 67 - ค่าทรายอะเบท ๒๐ กรัม/ซอง (1,250 ซอง/ถัง) จำนวน 1 ถัง 0 2,800.00 -
23 ก.พ. 67 - ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด ๑.๒ เมตร x ๒ เมตร จำนวน 1 ป้าย 0 500.00 -
23 ก.พ. 67 - ค่าอาหารว่าง จำนวน 1 มื้อ /มื้อละ 25 บาท จำนวน 45 คน 0 2,250.00 -
23 ก.พ. 67 ค่าถุงมือยาง 0 120.00 -
23 ก.พ. 67 ค่าถุงดำ จำนวน 3 แพ็ค 0 300.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประซากรทุกกลุ่มอายุในชุมชนบ้านอ่างทอง ไม่มีอัตราการป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออกของประชากรในชุมชน
    1. ประชาชนในชุมชนบ้านอ่างทองมีความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกที่ถูกต้อง ชุมชนช่วยกันดูแล และสามารถร่วมกันป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสมอย่างเข้มแข็งและต่อเนื่อง ชุมชนมีความตระหนักในการป้องกันโรค
    2. เกิดความร่วมมือของชุมชนในการปรับปรุงสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยให้สะอาด ถูกสุขลักษณะ ไม่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุ่งลาย ลดการเกิดโรคไข้เลือดออก
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 23 ก.พ. 2567 18:55 น.